กทม. ครั้งที่ 1/2564

ลิงค์: https://ehenx.com/15868/ หรือ
ตำแหน่ง: เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน,นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน,นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน,นายช่างสํารวจปฏิบัติงาน,พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน,พนักงานปกครองปฏิบัติงาน,พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ,เจ้าหน้าที่ปกครองปฏิบัติการ,เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ,นิติกรปฏิบัติการ,นักทรัพยากรปฏิบัติการ,นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ,นักวิเคราะหืนโยบายและแผนปฏิบัติการ,นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ,นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ,นักวิชาการสุขาภิบาลปฏิบัติการ,นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ,วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ,วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ,วิศวกรโยธาปฏิบัติการ,วิศวกรสุขาภิบาลปฏิบัติการ,สถาปนิคปฏิบัติการ
ระดับการศึกษา: ปวช.ทุกสาขา,ปวช.,ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 9,400-20,800
อัตราว่าง: 1,143
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 27 ธ.ค. – 11 ม.ค. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**



กทม. ครั้งที่ 1/2564 เปิดรับสมัคร

ประกาศสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตงบุคคลเข้ารับราชการ เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๔

ด้วยสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร (สำนักงาน ก.ก.) จะดำเนินการ สอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๔ (๙) มาตรา ๒๙ (๗) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบ-ข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหาน่คร พ.ศ^ ๒๕๕๔ มติ ก.ก. ครั้งที่ ๒/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๒๐ ๆมภาพันธ์ ๒๕๖๐ มติ ก.ก. ครั้งที่ ๙/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๑ และมติ ก.กฺ. ครั้งที่ ๑๑/๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้ง บุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ ในตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน และ ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคล เข้ารับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ จำนวน ๓๐ ตำแหน่ง ดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 179 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 29 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 224 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 53 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 7 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 43 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 134 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


นายช่างสํารวจปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 91 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 18 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


พนักงานปกครองปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 59 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400-11500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 115 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 14400-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 10 อัตรา

อัตราเงินเดือน : -15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เจ้าหน้าที่ปกครองปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 11 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 12 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 20000-20800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นิติกรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 11 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักทรัพยากรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 18 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 18 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิเคราะหืนโยบายและแผนปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 10 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 11 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการสุขาภิบาลปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 12 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 33 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรโยธาปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 11 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรสุขาภิบาลปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


สถาปนิคปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 13 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-15800 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
2)ได้รับประกาศนยบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
3)ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า


เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
2)ได้รับประกาศนยบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
3)ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
2)ได้รับประกาศนยบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
3)ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
2)ได้รับประกาศนยบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
3)ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า


เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เครื่องกล สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีเคมี สาขาวิชาเคมีสิ่งทอ หรือสาขาวิชา เทคโนโลยีสิ่งทอ
2) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิคเขียนแบบวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรมปิโตรเคมี หรือสาขาวิชาเทคนิคเครื่องเย็นและปรับอากาศ หรือได้รับประกาศนียบัตรเจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หรือ อนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางเครื่องกล ทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางไฟฟ้า สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางเคมีปฏิบัติ หรือทางเคมี หรือสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ทางสิ่งทอ
ตกง
3) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เครื่องกล สาขาวิชาไฟฟ้ากําลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเคมีสิ่งทอ หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาใด สาขาวิชาหนึ่งทางวิทยาศาสตร์ ทางวิศวกรรมศาสตร์ ทางเภสัชศาสตร์ ทางโภชนาการ ทางเคมีปฏิบัติ หรือทางเคมี


เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ทางข่างอิเล็กทรอนิกส์ ทางช่างวิทยุและโทรคมนาคม ทางช่างวิทยุ ทางช่างโทรคมนาคม ทางช่างอิเล็กโทรนิกส์ ทางช่างไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ ทางเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือทางช่างไฟฟ้า หรือ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม ทางการสื่อสาร ทางสัญญาณวิทยุ หรือทางช่างวิทยุ
2) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า ทางช่างไฟฟ้า หรือสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กโทรนิกส์ ทางช่างอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางช่างไฟฟ้า หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือทางช่างไฟฟ้า
3) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา อิเล็กทรอนิกส์ ทางช่างอิเล็กทรอนิกส์ ทางช่างโทรคมนาคม ทางช่างวิทยุและโทรคมนาคม ทางช่างวิทยุ หรือ ทางช่างไฟฟ้า


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเครื่องมือกลและซ่อมบำรุง หรือสาขาวิชาโลหะการ
2)ได้รับประกาศนยบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิเขียนแบบวิศวกรรมเครื่องกล หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในทางเครื่องกล
3)ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาขาวิชาเทคนิคโลหะ หรือสาขาวิชาแบบเครื่องกล


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาวิชาก่อสร้าง
2) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิคเขียนแบบวิศวกรรมเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมสํารวจ สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรือสาขาวิชาเทคนิคเครื่องเย็น และปรับอากาศ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในทางไฟฟ้า หรือทางอิเล็กทรอนิกส์
3) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เครื่องกล สาขาวิชาโยธา สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาสํารวจ สาขาวิชาไฟฟ้ากําลัง สาขาวิชาก่อสร้าง สาขาวิชาเทคนิคโลหะ หรือสาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์
2) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า หรือสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปีต่อจาก ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ทางไฟฟ้า หรือทางอิเล็กทรอนิกส์
3) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา ไฟฟ้ากําลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาก่อสร้าง
2) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิควิศวกรรมสํารวจ สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา หรือสาขาวิชาเทคนิคการจัดการงานก่อสร้าง หรือ อนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาก่อสร้าง
3) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสํารวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง


นายช่างสํารวจปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาก่อสร้าง สาขาวิชาสํารวจ หรือประกาศนียบัตรนักเรียนนายสิบแผนที่ ในสาขาวิชาสํารวจ ทางแผนที่ จากกรมแผนที่ ทหารบก
2) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา เทคนิควิศวกรรมสํารวจ สาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมโยธา สาขาวิชาเทคนิคการจัดการงานก่อสร้าง หรือ สาขาวิชาสํารวจ หรืออนุปริญญาหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาก่อสร้าง
3) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสํารวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง


พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
2)ได้รับประกาศนยบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
3)ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า


พนักงานปกครองปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
2)ได้รับประกาศนยบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
3)ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน
2)ได้รับประกาศนยบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
3)ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรืออนุปริญญาตรีหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และได้รับใบอนุญาตขับขี่รถตามกฏหมายว่าด้วยรถยนต์


เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชารัฐศาสตร์ สาขาวิชาบริหารรัฐกิจ หรือสาขาวิชานิติศาสตร์


เจ้าหน้าที่ปกครองปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชารัฐศาสตร์ สาขาวิชาบริหารรัฐกิจ หรือสาขาวิชานิติศาสตร์


เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน และได้รับใบอนุญาตขับขี่รถตามกฏหมายว่าด้วยรถยนต์


นิติกรปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชานิติศาสตร์


นักทรัพยากรปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ ทางโสตทัศนศึกษา หรือสาวิชานิเทศศาสตร์


นักวิเคราะหืนโยบายและแผนปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาบริการธุรกิจ หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์


นักวิชาการสุขาภิบาลปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยาการธรรมชาติ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ทางสิ่งแวดล้อม หรือทางวิศวกรรมสุขาภิบาล


นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางจิตวิทยา สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ หรือสาขาวิชา รัฐศาสตร์ ทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ รับอนุญาต


วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมเครื่องกล และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมที่กฏหมายกำหนด


วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมไฟฟ้า และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมที่กฏหมายกำหนด


วิศวกรโยธาปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมโยธา ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ทางวิศวกรรมสุขาภิบาล ทางวิศวกรรมชลประทาน หรือ ทางวิศวกรรมโครงสร้าง และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกําหนด


วิศวกรสุขาภิบาลปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมสุขาบิภาล หรือทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม


สถาปนิคปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมที่กฏหมายกำหนด

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม,จำเป็นต้องใซัผู้สำเร็จการติกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธึการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่Iด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้งานเป็นไปตาม เปืาหมายที่กำหนด
(๒) รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใชัประกอบในการทำงบประมาณประจำปี ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๓) ตรวจสอบและดูความถูกต้องของเอกสารสำคัญทางการเงิน เพื่อให้เกิดความถูกต้องในการ ปฏิบัติงาน
(๔) ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประขาขนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงานและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ขี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีแก,เจ้าหบ้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญแก่ผู้ที่สนใจ
(เอ) ประสานงานในระดับกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกขน หรือประชาขนทั่วไป เพื่อขอความ ช่วยเหลือและความร่วมมือในงานการเงินและบัญชี และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ ต่อการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ


เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใชัผู้สำเร็จการดักษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านการจัดเก็บภาษี ค่าธรรมเนียมและอื่น ๆ ที่เป็นรายไต้ของกรุงเทพมหานคร ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ
มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานด้านการจัดเก็บภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงห้องที่ ภาษีป้าย ค่าธรรมเนียม ค่าเข่า ค่าบริการ และรายได้อื่น ๆ ที่เกี่ยวซ้องตามกฎหมาย เพื่อให้การจัดเก็บรายได้เป็นไปตามเป้าหมาย ที่กำหนด
(๒) เร่งรัด ติดตาม ตรวจสอบการจัดเก็บค่าธรรมเนียม จัดเก็บภาษีของฐานภาษีรายใหม่และ ที่ด้างขำระ เพื่อให้สามารถจัดเก็บได้อย่างครบล้วน
(๓) ตรวจสอบการรับเงิน เก็บรักษา นำส่งเงิน และออกใบเสร็จในการจัดเก็บรายได้ เพื่อให้เป็นไป ตามกฎหมาย่ ระเบียบ หลักเกณฑ์ ข้อบังคับ คำสั่ง
(๔) รวบรวมข้อมูล เอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดเก็บรายได้ และเก็บรักษาหลักฐาน เพื่อเป็นข้อมูล และรายงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามกำหนดระยะเวลา    .    .
(๕) จัดทำทะเบียนควบคุมการจัดเก็บรายได้ สถิติการจัดเก็บรายได้แต่ละประเภท รวมถึงจัดเก็บ ข้อมูลที่เกี่ยวซ้องด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตามระบบ่งานของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ข้อมูลมีความถูกต้องและ สามารถด้นหาข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
(๖) ดูแล ตรวจสอบ ดำเนินการเบิกจ่ายการของบประมาณของหน่วยงานที่รับผิดขอบ เพื่อตรวจสอบ ให้วงเงินอยู่ในงบประมาณรายจ่ายที่กรุงเทพมหานครกำหนด
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาและแนะนำในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้เจ้าหน้าที่ มีความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแห้ ตลอดจนเผยแพร่ประชาสัมพนธ์ข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้ที่สนใจ ให้เกิดความเข้าใจและปฏิบัติงานได้อย่างถูกตอง
(๒) ประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อฺง เพื่ออำนวยความสะดวกในการ ปฏิบัติงานและก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการดึกษาระดับปริญญา-ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภาย่ใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่!ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือ โต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสบุนให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้!ดยสะดวกราบรื่นและ มีหลักฐานตรวจสอบได้
(๒) รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวก ต่อการด้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ใข้งานและ อยู่ในสภาพพร้อมใข้งาน
(๔) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒. ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการเดียวกัน หรือหน่วยงานหรือ ส่วนราชการอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้!ด้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์!ด้ต่อไป
(๓) ผลิตเอกสารต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจชองหน่วยงานหรือส่วนราชการ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่!ด้รับมอบหมาย


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึงไม่จำเป็นต้องใซัผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานพัสดุ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ ■แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ใต้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุในการจัดหา จัดชื้อ ว่าจ้าง การเก็บรักษา นำส่ง การซ่อมแซม และบำรุงรักษาพัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใชัต่าง ๆ เพื่อให้อยู่ในสภาพดีพร้อมต่อการใซังาน
(๒) ทำทะเบียนการเบิกจ่ายพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญหลักฐานและเอกสารเกี่ยวกับพัสดุ เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการดำเนินงาน
(๓) ร่างและตรวจสัญญาชื้อ สัญญาจ้าง หนังสือโต้ตอบ บันทึกย่อเรื่องเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อเป็นหลักฐานในการดำเนินงาน
(๔) รายงาน สรุปความเห็นเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอผู้บังคับบัญขา ในหน่วยงาน หรือส่วนราชการ
(๕) ศึกษาและเสนอความเห็นเกี่ยวกับระเบียบงานพัสดุ เพื่อร่วมพัฒนาให้ระเบียบการปฏิบัติงาน มีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น
(๖) ชี้แจงรายละเอียดข้อเท็จจริงเกี่ยวกับงานพัส่คุ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อผู่ในความรับผิดชอบแก่ผู้ร่วมงาน หรือหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงาน และให้การดำเนินงานสำเร็จ ลุล่วง
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการเดียวกัน ต่างหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือประชาชนที่วไป เพื่อให้บริการ หรือชอความช่วยเหลือในต้านที่ฅนรับผิดชอบ


เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใชัผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์ ตามแนวทาง. แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดเตรียม ดูแลรักษาเครื่องมือ อุปกรณ์ เคมีภัณฑ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี รวมทั้งจัดทำทะเบียนการเบิกจ่ายวัสดุ และเคมีภัณฑ์ เพื่อให้สามารถนำไปใช้!ด้อย่างถูกต้องเหมาะสม
(๒) ช่วยปฏิบัติงานวิเคราะห์ทดสอบ สอบเทียบ วิจัยเนี้องต้น และช่วยรวบรวมข้อมูล เพื่อให้ นักวิชาการสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว
๒. ด้านการบริการ
ให้คำแนะนำ และคำปรึกษาแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องในเรื่องเกี่ยวกับงานที่รับผิดชอบทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ


เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไมจำเป็นต้องใชผู้ส่าเร็จการดึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานต้านสื่อสาร ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสื่อสาร รับ – ส่งข่าวสารด้วยระบบต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ วิทยุ โทรพิมพ์ เครื่องมือสื่อสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ระบบโครงข่าย โทรศัพท์ อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต ระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม รวมทั้งระบบสื่อสารสารสนเทศอื่น ๆ เป็นต้น เพื่อให้การรับ – ส่งข่าวสารเป็นไปด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว และ ทันเหตุการณ์
(๒) รวบรวม คัดเลือก ตรวจสอบ และเรียบเรียงข่าว จัดแยกประเภทข้อมูล จัดเข้ารูปแบบ . ฟอร์มสากล เพื่อให้ข่าวสารที่Iด้รับมีความน่าเชื่อถือสูงและสามารถใข้อ้างอิงได้อย่างถูกต้อง
(๓) ให้บริการข้อมูลสื่อสารผ่านระบบสื่อสารและระบบสารสนเทศต่าง ๆ ให้กับบุคคลและ หน่วยงาน หรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำข้อมูลไปใข้ประโยชน์ในกิจการต่าง ๆ
(๔) จัดทำรายงานข่าวสาร หรือสถิติรับ – ล่งข้อมูลข่าวสารเพื่อนำไปใข้ประโยชน์ในงานสื่อสาร และนำไปปรับปรุงและพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
๒. ด้านการบริการ
(๑) .ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานสื่อสารที่ตนรับผิดชอบแก่บุคคลใน หน่วยงานหรือส่วนราชการเดียวกัน หรือหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ และการปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความมีประสิทธิภาพ
(๒) ประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการภายในและภายนอก รวมทั้งประชาชนทั่วไป เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวก รวดเร็วมีประสิทธิภาพ


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับตัน ซึ่งไม่จำเป็นต้องใข้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างเครื่องกล ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่เด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ดำเนินการตรวจสอบ บำรุงรักษา ช่อมแกั1ข ปรับปรุง เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ และงานค้านเครื่องกล เพื่อให้พร้อมใชัอยู่เสมอ
(๒) ดำเนินการออกแบป เซียนแบบเครื่องกล การผลิตชิ้นส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ ติดตั้ง . ทดลอง ทดสอบ สอบเทียบเครื่องมือ ประมาณราคา เครื่องจักรกล ยานพาหมะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพและเหมาะสมกับการใช้งาน
(๓) สำรวจ รวบรวมซัอมูล จัดทำสถิติ ประวิตการบำรุงรักษา การช่อมเครื่องจักรกล เครื่องมือกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อเป็นช้อมูลหลักฐานสำหรับนำไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงงาน
๒. ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
(๒) ให้คำแนะนำและบริการแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ประชาชนเกี่ดความรูความเข้าใจในการทำงาน


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใซัผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างเทคนิค ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ต้านการปฏิบัติการ
(๑) ดูแล ควบคุม ตรวจซ่อมและบำรุงรักษา ระบบสาธารณูปโภค เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ วัสคุและครุภัณฑ์อื่น ๆ ในความรับผิดชอบ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและพร้อมในการใช้งาน
(๒) ช่อม สร้าง ผลิต ประกอบ ดัดแปลง เซียนหรือออกแบบ ติดตั้ง เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งการทดลองใช้เครื่องจักร เครื่องกล และสิ่งก่อสร้าง เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชา และมาตรฐานงานช่าง และให้เกิดความปลอดภัย
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำ จัดทำซัอผูล ถ่ายทอดความรู้ทั้งในเซิงทักษะเฉพาะด้านและทักษะทั่วไป ให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการที่รับผิดชอบ หน่วยูงานราชการ เอกชน หรือประชาชน เพื่อให้ มีความรู้ ความสามารถและมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
(๒) ติดต่อประสานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวช้อง เพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวช้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึงไม่จำเข็นต้องใช้ผู้สำเร็จการดักษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้าน‘ช่างไฟฟ้า ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ขัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่1ด้ร้บมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง ควบคุมการใช้งาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องปรับอากาศ. ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ รับส่งซัอมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวช้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและ มีประสิทธิภาพตอบสนองความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการภายในและภายนอก
(๒) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
๒. ต้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการ ทั้งภายในและภายนอก หน่วยงานหรือส่วนราชการ. เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
(๒) ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และช้อมูลต่าง.ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุมแลฺะมีประสิทธิภาพ
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งด้งต่อไปนี้
๑. ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชา เทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า หรือสาขาวิชาเทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรืออนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปืต่อจาก ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ทางไฟฟ้า หรือทางอิเล็กทรอนิกส์
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบ่ได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา ไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใชัผู้สำเร็จการศึกษา.ระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างโยธา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ .ก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อให้ตรงตาม หลักวิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และงบประมาณที่Iด้รับ
(๒) ตรวจสอบ แกไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้ การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใซัตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
(๔) ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับมอบหมาย พร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำห่นด
(๕) รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล งานต้านโยธาและด้านระบบระบายนํ้า จัดฺทำระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในงานด้านช่าง
(๖) ดำเนินการป้องกัน แก้[ขปัญหานี้าท่วมและระบบการระบายนี้า เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ของประขาขน
(๗) ปฏิน้ตงานด้านบำรุงรักษาแหล่งรับนี้าให้มีที่ว่างเพียงพอ เพื่อสำหรับรองรับนํ้า
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและฟิกอบรมเกี่ยวกับงานโยธาที่รับผิดชอบ แก่เจ้าหน้าที่ระดับ รองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบข้อมูล ความรู้ต่าง ๆ และ มีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงาน
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความ ช่วยเหลือและร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยฺชนํต่อการทำงานของ หน่วยงานหรือส่วนราชการ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างสํารวจปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใซัผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างสำรวจ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่!ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบ้ตการ
(๑) สำรวจ รังวัด คำนวณ ตรวจสอบ จำแนกรายละเอียดของภาพถ่ายทางอากาศ จัดทำแผนที่ แผนผัง เช่น การสำรวจและคัดลอกระวางโฉนดที่ดิน การจัดทำแผนที่การบริการด้านฺสาธารณสุข เป็นต้น เพื่อให้ทราบรายละเอียด และเป็นไปตามแบบที่กำหนด สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) แก้!ขปัญหาเบื้องต้นจากการปฏิบัติงาน เพื่อให้บรรลุตามวัตลุประสงค์ และเป้าหมายของงาน ที่กำหนดไว้
(๓) วัดระดับของภูมิประเทศ วางโครงข่ายหมุดหลักฐาน่ จัดทำระบบการจัดการและปรับปรุง ชุดช้อมูลภูมิศาสตร์พื้นฐาน แผนที่ เพื่อสนับสบุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔) บันทึก ตรวจสอบ จัดเก็บ รายละเอียดต่าง ๆ ที่ได้จากการสำรวจและรายงานผล เพื่อติดตาม ความก้าวหน้าของงาน
(๕) กำหนดชั้นตอนการปฏิบัติงาน และตรวจสอบความลูกต้องของช้อมูล และรายละเอียดต่าง ๆ ที่!ต้จากการสำรวจ เพื่อให้ข้อมูลที่ได้มีความลูกต้อง
(๖) จัดเก็บ บำรุงรักษา เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงาน ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำทั้งในเชิงทักษะเฉพาะด้านและทักษะทั่วไปแกบุคลากรทุกสายงาน เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความสามารถและมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏีนัตงานในหน้าที่
(๒) ติดต่อประสานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ


พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ซึ่งไมจำเป็นต้องใชผู้สำเร็จการดึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านเทศกิจ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ซัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามทึ๋1ต้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สึบสวน สอบสวนกรณีที่ผู้ต้องหาไม่ยอมตามที่ปรับหรือเมื่อยอมแล้วไม่ชำระค่าปรับภายใน กำหนดเวลา สอบถามซ้อเท็จจริงหรือลังให้แสดงเอกสารหรือหลักฐานอื่นที่เกี่ยวซ้องจากบุคคลที่อยู่หรือทำงาน ในสถานที่นั้น และให้มีอำนาจยดหรืออายัดเอกสาร หลักฐาน ยานพาหนะหรือสิ่งใด ๆ ที่เกี่ยวกับการกระทำผิด รวมทั้งมีอำนาจจับกุมผู้กระทำผิด ดำเนินการให้มีการเปรียบเทียบปรับ ดำเนินคดี และบังคับการให้เป็นไปตาม ช้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร และกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิด การปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งด้านคดีอาญา การบังคับการทางแพ่งและการบังคับทางปกครองที่อยู่ในอำนาจ หน้าที่ของกรุงเทพมหานคร เช่น การบังคับรื้อถอนอาคาร การห้ามเฃ้าห้ามใช้อาคารผิดกฎหมาย เป็นต้น
(๒) เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ช่วยหรือดำเนินการเกี่ยวกับการรดอายัดทรัพย์สิน เพื่อดำเนินการ ให้เป็นไปตามช้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร หรือกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบ้ตราขการทางปกครองเพื่อดำเนินคดีหรือขายทอดตลาดแล้วแต่กรณี
(๓) ตรวฺจสอบและจัดระเบียบ หาบเร่ แผงลอย จุดผ่อนผัน จุดทบทวน จุดกวดขันพิเศษ จุดห้ามขายเด็ดขาด นอกจุดผ่อนผันและทบทวน และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวซ้อง เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมือง
(๔) ตรวจตรา เฝืาระวังการดำเนินงานต่าง ๆ ของประขาขนในพื้นที่กรุงเทพมหานครให้เป็นไป ตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
(๔) ปฏิบัติงานมวลชนสัมพันธ์ งานกิจการพิเศษ งานให้บริการ เช่น งานช่วยอำนวยการจราจร งานสายตรวจจักรยาน งานสายตรวจชุมชน งานสายตรวจเดินเท้า งานช่วยอำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว เป็นต้น เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

(๖) ตรวจตราพื้นที่ รวมถึงสนับสนุน ช่วยเหลืออำนวยความสะดวกในงานบรรเทาสาธารณภัย ดูแลความปลอดภัยในชีวิตแล่ะทรัพย์สินของประขาชน เพื่อให้ประชาขนได้รับการคุ้มครองตามสิทธิและ ข้อบังคับของกฎหมาย
(๗) ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(๘) ช่วยงานด้านธุรการ และคดี เช่น งานเสมียนคดี ลงบันทึกการจับกุม บันทึกเปรียบเทียบปรับ บันทึกรายงานประจำวัน เชินด้น
๒. ด้านการบริการ
(๑) การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ให้คำปรึกษาแนะนำงานบริการต่าง ๆ ของหน่วยงานหรือ ส่วนราชการ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการดำเนินงาน ส่งเสริมให้การปฏิบัติงาน มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(๒) รับเรื่องร้องทุกข์ หรือเรื่องราวความเดือดร้อนของประชาชน เพื่อเสนอผู้บังคับบัญชา หรือหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้องให้ดำเนินการแก้ไข


พนักงานปกครองปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานร่ะดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใชัผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานช่วยงานปกครอง ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ใต้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานในฐานะผู้สนับสนุนให้แกพนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติงานหลักของหน่วยงาน หรือส่วนราชการที่ดำเนินการทางปกครอง เช่น การทะเบียนปกครอง การทะเบียนราษฎร การทะเบียนทั่วไป การปกครองห้องที่ การช่วยปฏิบัติงานการเลือกตั้งทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น การทำประชามติ การป้องกันและรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นต้น เพื่อให้การ ดำเนินการตามภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการบรรลุผลสัมฤทธิ้
(๒) รับเรื่องราวต่าง ๆ เกี่ยวกับการบังลับการทางปกครองหรือการให้บริการทางปกครองที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เช่น การเพิกถอนทะเบียนสมาคม การจัดทำบัตรประจำตัว-ประชาชน การจัดทำทะเบียนพาณิชย์ การจัดทำทะเบียนต่างด้าว การจัดทำทะเบียนมูลนิธิ เป็นต้น
(๓) อำนวยความสะดวกในการจัดฟิกอบรมเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และสร้างความรู้ความเข้าใจ ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น บทบัญญัติกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับหรือประกาศ ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน การอบรมอาสาสมัครป้องกันภั๋ยฝ่ายพลเรือน การอบรมลูกเสึอชาวบ้าน การจัดทำคู่มือ สำหรับการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง เป็นต้น
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำ ชี้แจง และประชาสัมพันธ์ขั้นตอนงานบริการต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบ ให้แก่ประชาชน หน่วยงานหรือส่วนราชการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่ออำนวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาให้แก่ ประชาชน หน่วยงานหรือส่วนราชการนั้น
(๒) ประสานการดำเนินงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาในการ ให้บริการสาธารณะ


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเข็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นฺ ตามที่!ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตรวจตรา รับแจ้งเหตุ เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
(๒) ดำเนินการระงับอัคคีภัย และภัยพิบัติอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ที่รับผิดชอบ การกัภัย การช่วยเหลือผู้ประสบภัย การรับมือกับเหตุร้ายในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อความปลอดภัยและบรรเทาความเสึยหาย ที่เกิดขึ้น
(๓) จัดเตรียม ดูแล รักษาเครื่องมือลุปกรณ์ ตลอดจนยานพาหนะต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้ ในการปฏิบัติงานอยู่เสมอ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๔) รวบรวม จัดทำข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน เช่น สำรวจแหล่งนี้าเสันทางจราจร แหล่งชุมชนต่าง ๆ บริเวณหรือพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดภัย เป็นต้น เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างสะดวกและ ทันต่อเหตุการณ์
(๕) จัดทำรายงาน บันทึก และสถิติข้อมูลต่าง ๆ ในงานป้องกันบรรเทาสาธารณภัย เพื่อรายงาน ผู้บังคับบัญชา
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาแนะนำในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็วและลูกต้อง.
(๒) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยและช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้แก่หน่วยงานราชการ หรือเอกขน และประชาชนทั่วไป เพื่อให้ เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสามารถแก1ขสถานการณ์!นเนี้องต้นได้ด้วยตนเอง
(๓) ประสานงานกับหน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่ออำนวยความสะดวกในการ ปฏิบัติงานและก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน


เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านเทศกิจ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สืบสวน สอบสวนกรณีที่ผู้ต้องหาไม่ยอมตามที่ปรับหรือเมื่อยอมแล้วไม่ชำระค่าปรับภายใน กำหนดเวลา สอบถามข้อเท็จจริงหรือลังให้แสดงเอกสารหรือหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องจากบุคคลที่อยู่หรือทำงาน ในสถานที่นี้น และให้มีอำนาจยึดหรืออายัดเอกสาร หลักฐาน ยานพาหนะหรือสิ่งใด ๆ ที่เกี่ยวกับการกระทำผิด รวมทั้งมีอำนาจจับคุมผู้กระทำผิด ดำเนินการให้มการเปรียบเทียบปรับ ดำเนินคดี และบังคับการให้เป็นตาม ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร และกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิด การปฏิบัติตามกฎหมาย ทั้งด้านคดีอาญา การบังคับการทางแพ่ง และการบังคับทางปกครองที่อยู่ในอำนาจ หน้าที่ของกรุงเทพมหานคร เช่น การบังคับรื้อถอนอาคาร การห้ามเข้าห้ามใซัอาคารผิดกฎหมาย เป็นต้น
(๒) เป็นพนักงานเข้าหน้าที่ช่วยหรือดำเนินการเกี่ยวกับการยึดอายัดทรัพย์สิน เพื่อดำเนินการ ให้เป็นไปตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร หรือกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราขการทางปกครองเพื่อดำเนินคดีหรือขายทอดตลาดแล้วแต่กรณี
(๓) ควบคุม ดูแล ตรวจสอบ การจัดระเบียบ หาบเร่ แผงลอย จุดผ่อนผัน จุดทบทวน จุดกวดขันพิเศษ จุดห้ามขายเด็ดขาด นอกจุดผ่อนผันและทบทวน และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมือง
(๔) ควบคุม ดูแล การตรวจตรา เฝืาระวังการดำเนินงานต่าง ๆ ของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ให้เป็นไปตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎหมายอื่นที่กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
(๕) ควบคุม ดูแล การปฏิบัติงานมวลชนสัมพันธ์ งานกิจการพิเศษ งานให้บริการ เช่น งานช่วย อำนวยการจราจร งานสายตรวจจักรยาน งานสายตรวจชุมชน งานสายตรวจเดินเท้า งานช่วยอำนวยความสะดวก ด้านการท่องเที่ยว เป็นต้น เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
(๖) ควบคุม ดูแล การตรวจตราพื้นที่ รวมถึงสนับสบุน ช่วยเหลือ อำนวยความสะดวกในงาน บรรเทาสาธารณภัย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เพื่อให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองตาม สิทธิและข้อบังฺคับชองกฎหมาย

(๗) ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ หน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยขอํงบ้านเมือง
(๘) การดำเนินการด้านข้อมูลทะเบียน และการออกใบรับรองรถจักรยานยนต์รับจ้างสาธารณะ
(๙) วางแผนการใข้กำลังคนด้านเทศกิจ จัดทำแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อดูแลความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สินของประขาชน ความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง และความสะอาดและความเป็นระเบียบ เรียบร้อยของบ้านเมือง
(๑๐) ศึกษา วิเคราะห์ การกำหนดมาต*รการ แนวทางปฏิบัติงาน การปรับปรุงกฎหมาย รวมทั้ง การติดตามประเมินผลเกี่ยวกับงานด้านเทศกิจ เพื่อพัฒนาระบบงานให้มีคุณภาพ สามารถปฏิบัติภารกิจของ หน่วยงานหรือส่วนราชการให้บรรลุวัตถุประสงค์และผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๒. ต้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมตำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเปืาหมายผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมฺกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ให้คำปรึกษาแนะนำงานบริการต่าง ๆ ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้ประชาชนมีความรัความเข้าใจในขั้นตอนการดำเนินงาน ส่งเสริมให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น
(๒) ดูแลเรื่องร้องเรียน ให้คำปรึกษา แนะนำ ด้านกฎหมาย อำนวยความเป็นธรรมให้แกประชาขน ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนชอความเป็นธรรม เพื่อนำเสนอผู้บังคับบัญชาประกอบการตัดสินใจเพื่ออำนวยความ เป็นธรรมให้แก่ประชาชน


เจ้าหน้าที่ปกครองปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านการปกครอง ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ เสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน มาตรการเกี่ยวกับการพัฒนา ระบบงาน รูปแบบ วิธีการปฏิบัติงาน และการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวช้องกับงานด้านการปกครอง ตลอดจน ติดตามและประเมินผลเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว เกิดความสงบสุขเรียบร้อยในสังคม และ มีความมั่นคง ความปลอดภัยในซีวิตและทรัพย์สิน
(๒) ดำเนินการและบังคับใช้กฎหมายในฐานะผู้ช่วยนายทะเบียน นายทะเบียนและพนักงานเจ้าหน้าที่ ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร หรือเป็นผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงาน หรือส่วนราชการที่ดำเนินการต้านการปกครอง เช่น การทะเบียนปกครอง การทะเบียนราษฎร การทะเบียนทั่วไป การปกครองท้องที่ การวางแผนงาน ประสานงานและช่วยดำเนินการเลือกตั้งวุฒิสภา สมาซีกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครตามที่ได้รับมอบหมาย และดำเนินการจัดการ เลือกตั้งสมาชิกสภาเขต การติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการการเลือกตั้ง การทำประชามติ การบีองกันและ รักษาความสงบเรียบร้อย ตลอดจนความมั่นคงภายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นต้น เพื่อให้การดำเนินการ ตามภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการบรรลุผลส้มฤทธึ๋และชอบด้วยกฎหมาย
(๓) ปฏิบัติงานช่วยเหลือ สนับสนุนงานตามอำนาจหน้าที่ชองผู้อำนวยการเขต ในการนำนโยบาย และยุทธศาสตร์ชองผู้บริหารกรุงเทพมหานคร มาปฏิบัติให้บรรลุผลตามเป้าหมาย และอำนวยการตอบสนอง ความต้องการและแกไขปัญหาความเดือดร้อนของประขาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อให้การบริหารราชการ กรุงเทพมหานครมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
(๔) ดำเนินการจัดผิกอบรมเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และสร้างความรู้ความเข้าใจที่จำเป็นต่อ การปฏิบัติงานให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น บทบัญญติกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับหรือประกาศที่ใฃ้ในการปฏิบัติงาน การอบรมอาสาป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ลูกเสือชาวบ้าน การจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง เป็นด้น
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลส้มฤทธี๋ที่กำหนด

๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวซ้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้บริการประชาชนเกี่ย่วกับงานด้านการปกครองที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร เช่น การทะเบียนปกครอง การทะเบียนราษฎร การทะเบียนทั่วไป การปกครองท้องที่ การเลือกตั้ง การทำประชามติ การป้องกันและรักษาความสงบเรียบร้อย ความมั่นคงภายในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นต้น
(๒) ให้ความรู้ความเข้าใจ ให้คำปรึกษา แนะนำเกี่ยวกับการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชน เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการของรัฐตามสิทธิขั้นพื้นฐานได้อย่างเสมอภาค ทั่วถิง และเป็นธรรม
(๓) ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ แนะนำและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับขั้นตอนงานบริการต่าง ๆ ที่อยู่ใน ความรับผิดชอบ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้มีโอกาสรับรู้และเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างกว้างขวาง ลูกต้อง และ รวดเร็ว เพื่อสร้างความร่วมมือในการตำเนินงาน รวมถึงเป็นการส่งเสริมให้การตำเนินงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่!ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) วางแผนการดำเนินการ และปฏิบัติงานตรวจสอบ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(๖) ดำเนินการระงับอัคคีภัย และภัยพิบัติอื่น ๆ ที่เกิดชื้นในพื้นที่ที่รับผิดชอบตามที่ร้องขอกูภัย และช่วยเหลือผู้ประสบภัย เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยได้อย่างรวดเร็ว และเกิดความเลืยหายน้อยที่สุด
(๓) ตรวจตราป้องกันอัคคีภัยและภัยพิบัติอื่น ๆ ที่จะเกิดชื้นในเขตพื้นที่เพื่อดำเนินการป้องกันเซิงรุก ก่อนเกิดเหตุการณ์
(๔) ควบคุมดูแลและรักษาเครื่องมืออุปกรณ์ ตลอดจนยานพาหนะต่าง ๆ เพื่อให้อยูในสภาพพร้อม ที่จะปฏิบัติงานได้ทุกโอกาส
(๕) สำรวจแหล่งนี้า เส้นทางจราจร แหล่งชุมขนต่าง ๆ เพื่อเป็นข้อมูลในการป้องกันและระบบ อัคคีภัย
(๖) ตรวจสอบและวิเคราะห์สาเหตุการเกิดสาธารณภัย ในเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่รุนแรง เพื่อสรุป หาสาเหตุ และจัดทำรายงาน
(๗) ศึกษางานด้านวิชาการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อกำหนดกลไก หลักเกณฑ์ และนโยบายต่าง ๆ ในการตำเนินการป้องกัน และระงับอัคคีภัยและภัยพิบัติอื่น ๆ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธื้ที่กำหนด

๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี๋ตามที่กำหนดไวั
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างคว่ามเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้ริบมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้บริการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแก่ประชาชน หน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือเอกชนต่าง ๆ


นิติกรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานต้านนิติการ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่Iด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในต้านต่างๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) เสนอความเห็นแก่ผู้บังคับบัญชาในการตอบข้อหารือ หรือวินิจฉัยปัญหากฎหมายเกี่ยวกับ ระเบียบของทางราชการที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อเป็นข้อมูลสนับสบุน การพิจารณาของผู้บังคับบัญชา
(๖) ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัย เพื่อจัดเตรียมในการพิจารณายกร่างกฎหมาย ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อบังคับเกี่ยวกับหน่วยงานหรือส่วนราชการที่รับผิดชอบ เพื่อให้ทันกับสถานการณ์ และ อำนวยความสะดวกฺในการทำงาน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย
(๓) ศึกษา ค้นคว้าข้อมูล ข้อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้พิจารณาดำเนินการทางวินัย รวบรวมแสวงหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย เสนอความเห็นในการดำเนินการเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับวินัย ข้าราชการและลูกจ้าง การร้องทุกข์ การอุทธรณ์ การสืบสวนและสอบสวน และการพิทักษ์ระบบคุณธรรม รวมถึง การดำเนินการ ใด ๆ ตามกฎหมายปกครองที่เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการ และการดำเนินคดีของหน่วยงาน หรือส่วนราชการ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และสามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้อง
(๔) ศึกษา ค้นคว้าข้อมูล ข้อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้พิจารณาดำเนินการทางคดี เช่น คดีแพ่ง คดีอาญา คดีภาษี เป็นต้น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และสามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้อง
(๕) ปฏิบัติงานฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการด้านกฎหมาย และคณะกรรมการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดประชุมเสนอความเห็น จัดทำระเบียบวาระ และรายงานการประชุม
(๖) การดำเนินการทางคดีต่าง ๆ เช่น การบังคับคดี การฟ้องคดี การต่อสู้คดี เป็นต้น เพื่อให้ เกิดความถูกต้อง ยุติธรรม
(๗) การดำเนินการด้านนิติกรรมสัญญา เข่น ยกร้างสัญญา ตรวจทานความถูกต้องของสัญญา ร่างประกาศ หรือเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องกับงาน่นิติการ เพื่อให้เอกสารมีความถูกต้อง ครบลัวนสมบูรณ์และ เป็นไปตามข้อกำหนดกฎหมายต่าง ๆ
(๘) พิจารณาคำขออนุญาตต่าง ๆ ที่ดำเนินการในเขตกรุงเทพมหานคร เข่น การติดตั้งป้าย การใข้เครื่องขยายเสียง การแจกใบปลิว เป็นต้น เพื่อให้การดำเนินงานต่าง ๆ เป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย

๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดขอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนรๅชลๅร หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมลูทธื้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราขการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลส้มฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราขการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาแนะนำด้านกฎหมายแก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการที่เกี่ยวของ เพื่อสร้างความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เป็นปัญหา และให้ความรู้ถึงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องเป็นประโยชน์กับการ ดำเนินงานของบุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการดังกล่าว
(๒) เผยแพร่ความรู้ให้คำปรึกษาและชี้แจงตอบปัญหาด้านงานวินัย เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดี และลูกต้องตามระเบียบกฎหมาย


นักทรัพยากรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใข้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฺฏีบัติงานด้านการพัฒนาระบบราชการ การบริหารทรัพยากรบุคคล หรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ใต้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประกอบการวางระบบ การจัดทำมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานหรือของส่วนราชการ
(๒) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประกอบการดำเนินงาน เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
(๓) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการกำหนดความต้องการและ ความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การวางแผนทางถ้าวหนัาในอาชีพ การจัดหลักสูตรและการถ1าย่ทอด ความรู้ การ.จัดสรรทุนการศึกษา และการดูแลนักเรียนทุนของกรุงเทพมหานคร รวมถึงการวางแผนและ เสนอแนะนโยบายหรือยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และแผนการ จัดสรรทุนการศึกษาและกาณึกอบรม
(๔) ศึกษา รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์งาน เพื่อประกอบการพัฒนาระบบราชการ การจัด และพัฒนาโครงสร้างหน่วยงาน การกำหนดตำแหน่ง และการวางแผนกำลังคน
(๕) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการวางหลักเกณฑ์การบริหารผลการ ปฏิบัติงาน และการบริหารค่าตอบแทน
(๖) จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ้ของการพัฒนาระบบราชการ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายที่กำหนด
(๗) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบข้อมูล ถ้อยคำ ข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการดำเนินการทางวินัย การรักษาวินัยและจรรยา
(๘) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาระบบพิทักษ์คุณธรรม

(๙) ดำเนินการเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาและเลือกสรร เพื่อบรรจุและแต่งตั้งผู้มีความรู้ ความสามารถให้ดำรงตำแหน่ง
(๑๐) ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงานหรือส1วนราชการ เข่น การบรรจุ แต่งตั้ง โอน ย้าย การเลื่อนเงินเดือน การเลื่อนตำแหน่ง การทะเบียนประวัติ การออกจากราชการ เป็นต้น เพื่อให้การดำเนินการด้านบุคคลเป็นไปตามกฎหมาย กฎ มติคณะรัฐมนตรี มติ ก,ก, และระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่[ด้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาเบื้องต้นแก่หน่วยง่านราชการ เอกชน ข้าราชการ พนักงาน หรือเจ้าหนัาที่ของรัฐ หรือประชาชนทั่วไป เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ การบริหารและการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล เพื่อสร้างความเข้าใจและสนับสบุนงานตามภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๒) ให้บริการข้อมูล เกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ การบริหารและการพัฒน่าทรัพยากรบุคคล เพื่อสนับสบุนภารกิจของบุคคลหรือหน่วฺยงานหรือส่วนราชการ และใข้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์และมาตรการต่าง ๆ
(๓) ดำเนินการจัดสวัสดิการและการส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อเพิ่มพูนประสีทธิภาพ การปฏิบตงาน


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใข้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดกิจกรรมตามโครงการประชาสัมพันธ์ทั้งในและต่างประเทศ โดยป-ระสานงานกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานประชาสัมพันธ์บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย
(๒) สำรวจความคิดเห็นของประชาชน และรวบรวมข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ และสรุปผลเพื่อเป็น ข้อมูลในการดำเนินการประชาสัมพันธ์
(๓) ศึกษา ด้นคร้าข้อมูล วิเคราะห์ เพื่อประกอบการวิจัย วางแผนการประชาสัมพันธ์และติดตามผล
(๔) จัดทำเอกสาร และผลิตบทความ เพื่อการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก,บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่!ด้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้บริการข้อมูลการประชาสัมพันธ์แก,ประชาชนและหน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ. เพื่อให้ เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ตรงตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น


นักวิเคราะหืนโยบายและแผนปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใข้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิเคราะห์นโยบายและแผน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวม วิเคราะห์ และประมวลนโยบายของกรุงเทพมหานครและสถานการณ์เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาสรุปเสนอประกอบการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของ หน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคง
(๒) รวบรวมข้อมูล และศึกษาวิเคราะห์เบื้องด้น เกี่ยวกับภารกิจหลักและแผนกลยุทธ์ของ หน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เพื่อวางแผนกำหน่ดแผนการ ปฏิบัติงานหรือโครงการให้สามารถบร่รลุภารกิจที่กำหนดไว้
(๓) วิเคราะห์นโยบายของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการ ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคง และเสนอข้อคิดเห็น เพื่อช่วยจัดทำแผน การปฏิบัติงาน แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
(๔) สำรวจ ‘รวบรวม และประมวลผลข้อมูลการดำเนินงานตามนโยบายกรุงเทพมหานครและ ประเด็นปัญหาทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นข้อมูลส่าหรับ่การจัดทำ แผนงาน หรือกำหนดยุทธศาสตร์
(๕) ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์และนโยบายของกรุงเทพมหานคร เพื่อประกอบการเสนอแนะแนวทางการประสานผลักดันยุทธศาสตร์และนโยบาย ตลอดจนการติดตาม ประเมินผลให้สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน
๒. ด้านุการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด

๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ .ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) รวบรวมข้อมูล เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับการจัดทำแผนงานโครงการ
(๒) ให้คำปรึกษา แนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจงเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานนโยบายและแผน เพื่อแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำลังระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูป ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินไปได้อย่างราบรื่นและ สอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๒) ประมวลผลและปรับปรุงแล้!ขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้องแม่นยำและทันสมัย
(๓) ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการ และสภาพการใช้งานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔) เซียนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสบุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) เขียนชุดคำสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แกไขข้อผิดพลาดของคำสั่งเพื่อให้ระบบ ปฏิบัติการทำงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
(๖) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูล ของหน่วยงานหรือส1วนราชการที่ไม1ซับซ้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานหรือ ส่วนราชการให้มีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๗) ช่วยรวบรวมข้อมูลฺและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้ได้ ระบบงานประยุกต์ที่ตร่งตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๘) รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะชองเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์และระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่อง การติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อให้ได้อุปกรฺณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๙) ตรวจสอบ ดูแล บำรุงรักษา ซ่อมแซม เครื่องคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายให้สามารถ ทำงานได้ปกติ เพื่อให้การดำเนินงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการต่าง ๆ เป็นไปอย่างสะดวก ราบรื่น

(๑๐) ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย .ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัย‘ของ ช้อมูลและระบบ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธึ้ตามที่กำหนด
(๒) ขี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริงแกบุคคลหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความฺเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่!ด้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู่มือผู้ใข้ เพื่อให้ผู้ใข้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเอง อย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) ดำเนินการฟิกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสบุนการใชัระบบงานที่พัฒนาแกเจ้าหน้าที่ ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์
(๓) ให้คำปรึกษาแนะนำแกผู้ใชเมื่อมีป้ญหาหรือข้อสงสัยในการใข้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแค้!ขและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใข้ความรู้ ความสามารถทางวิ,ชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเงินและบัญชี ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โตยมึลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำบัญชี เอกสารรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน ทั้งเงินในและเงินนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน เพื่อแสดงสถานะทางการเงินและใชัเป็นฐานซัอมูลที่ถูกต้องตามระเบียบวิธีการบัญชี ของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๒) รวบรวมข้อมูล และรายงานการเงินของหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อพร้อมที่จะปรับปรุง ข้อมูลให้ถูกต้องและทันสมัย
(๓) จัดทำและจัดสรรงบประมาณแก่กรุงเทพมหานคร เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณตรงกับ ความจำเป็นและวัตสุประสงค์ของแต่ละหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔) ติกษาวิเคราะห์ผลการใซัจ่ายเงินงบประมาณของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้การใข้จ่ายเงิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดทำและจัดสรรงบประมาณ
(๕) ดูแลการรับและจ่ายเงิน สถานะทางการเงิน ตรวจสอบเอกสารสำคัญ การรับ – จ่ายเงิน เพื่อให้การรับ – จ่ายเงินขององค์กรมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติการถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติของราชการ
(๖) ถ่ายทอดความรู้ด้านการเงินและบัญชี แก1เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เช่น ให้คำแนะนำใน การปฏิบัติงาน วางโครงการกำหนดหลักสูตรและฟิกอบรม จัดทำคู่มือประจำสำหรับการฟิกอบรมและวิธีใช้ อุปกรณ์เครื่องมือที่ถูกต้อง เป็นต้น เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและ ข้อกำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมฺดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย และผลสัมสุทธึ๋ที่กำหนด

๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี๋ตามที่กำหนด
(๒) ขี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างควฺามเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามท!ต้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและขี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีที่ตนมีความรับผิดขอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั้วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจไต้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ งานการเงินและบัญชี เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และใซ้ ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ


นักวิชาการสุขาภิบาลปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใซ้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับด้านวิชาการสุขาภิบาล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ต้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย สำรวจ รวบรวม ข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้นที่ไม่ซับซ้อน เกี่ยวกับงานด้านสุขาภิบาล รวมถึงการอนามัยที่เกี่ยวข้องกับสภาวะของสิ่งแวดล้อม อันมีผลกระทบต่อชีวิต และสภาพความเป็นอยู่ของประชาชน เช่น การศึกษาสถานการณ์สิ่งแวดล้อมการเกิดโรค และก่ารแพร่กระจาย การจัดการนํ้าเสีย การจัดการขยะมูลฝอยสิ่งปฏิภูล การจัดการคุณภาพอากาศและเสียง การจัดการสุขาภิบาลอาหาร การจัดการกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและอาฃีวอนามัยและความปลอดภัย การจัดอาคารสถานที่และ การปรับปรุงแก้ไขสิ่งแวดล้อมทั่วไป และเหตุรำคาญอื่น ๆ ควบคุมการดำเนินงานของสถานที่จำหน่ายอาหาร และเครื่องดื่มให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาระบบการสุขาภิบาลที่ดี
(๒) สรุปรายงานเกี่ยวกับการดำเนนงาน หรือรายงานการรวบรวมข้อมูลทางวิชาการสุขาภิบาล เสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อประกอบการวางแผนในการปฏิบัติงาน
(๓) ติดตามผลการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยงานด้านสุขาภิบาล เพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงาน ให้เหมาะสมกับสถานการณ์และความจำเป็นของท้องที่
(๔) พัฒนาเนื้อหา องค์ความรู้ คุณภาพมาตรฐานเกี่ยวกับงานด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การคุ้มครอง และส่งเสริมภูมิปัญญาเกี่ยวกับงานด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และจัดทำคู่มีอ แนวทางปฏิบัติ เอกสารวิชาการ สิ่งพิมพ์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และมีส่วนร่วมในการรักษาและจัดการ สภาพแวดล้อมอันมีผลกระทบต่อสุขภาพ
(๕) ปฏิบัติการในการแก้ไข พื่น1ยู่ รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพ ดูแล บำรุงรักษาเครื่องมือและอุปกรณ์ให้พร้อมใซังาน เพื่อพัฒนามาตรการและปรับปรุงวิธีการดำเนินการและจัดหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการต้าน สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ

(๖) จัดทำฐานข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับงานด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับ คุณภาพนํ้า อากาศและเสึยง พื้นที่เสี่ยง ประชากร ปริมาณขยะมูลฝอย สถานที่ประกอบกิจการตามกฎหมาย ว่าด้วยการสาธารณสุข เป็นต้น เพื่อนำมาใช้ในการวิเคราะห์ ปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดการด้าน สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
(๗) ประเมินสิ่งแวดล้อมการทำงาน ประเมินสถานประกอบการ สถานบริการสาธารณะ สถานที่ สาธารณะ ทางด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันควบคุม ทำลายแหล่งแพร่เชื้อ และพาหะนำโรคอันเป็น อันตรายต่อสุขภาพ
(๘) ปฏิบัติงานส่งเสริม ควบคุม กำกับมาตรฐาน การบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข และกฎหมายเกี่ยวกับการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวช้อง เพื่อการคุ้มครองป้องกันโรคและ ภัยสุขภาพของประชาชน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดขอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานงานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลล้มฤทธื้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับฃ้อ่มูล ข้อเท็จจริงแก,บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่!ด้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ตรวจสอบสภาพของเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ให้มีคุณภาพพร้อมนำไปใช้งานอยู่เสมอ รวมทั้ง สนับสบุนงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การบริการด้งกล่าวเป็นไป อย่างราบรื่น
(๒) สนับสนุนการถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการ หรือเทคโนโลยีแก่บุคคลในหน่วยงาน เพื่อให้สามารถ ดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ตนรับผิดชอบในระดับ เบื้อง่ต้น แก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์และสามารถนำไปปฏิบัติให้มีสุขภาพที่ดี
(๔) ให้บริการทางวิชาการ เช่น การจัดทำเอกสาร คู่มือ สื่อเผยแพร่ หรือจัดกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้และสร้างความเข้าใจในงานด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม.
(๔) ร่วมปฏิบัติการในการฺพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อให้เป็นบุคลากรที่มี ความชำนาญ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ


นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่[ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ต้นหาข้อเท็จจริง สัมภาษณ์ สอบประวัติ เยี่ยมบ้าน ติดตาม สืบเสาะหาข้อเท็จจริง รวมทั้ง ศึกษาชุมชน และประเมินสภาวะทางสังคมเบื้องด้น เพื่อวินิจฉัย และให้บริการทางสังคมแก่กลุ่มเป้าหมาย ในระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่ม และชุมชน
(๒) ให้บริการการปรึกษา แนะนำ ช่วยเหลือ บำบัด ต็นฟู ป้องกัน ปกป้อง คุ้มครอง และพัฒนา กลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้สามารถช่วยเหลือตนเองได้
(๓) รวบรวม ประมวล สรุป จัดลำดับความสำคัญและความรุนแรงของปัญหา รวมทั้งวิเคราะห์ สาเหตุและผลกระทบชองปัญหา เพื่อประกอบการวางแผนให้ความช่วยเหลือ พิทักษ์สิทธิ และพัฒนาคุณภาพ ชีวิตกลุ่มเป้าหมาย
(๔) สำรวจ รวบรวม ศึกษา สรุปจัดทำรายงาน รวมทั้งประมวล และวิเคราะห์ข้อมูลทางวิชาการ สถานการณ์และปัญหาด้านสังคม เพื่อประกอบการวิจัย การจัดทำฐานข้อมูล การวางแผน การจัดทำหลักเกณฑ์ มาตรฐานและการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคมและสงเคราะห์
(๕) รวบรวม จัดเก็บข้อมูล สถิติเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านสังคมสงเคราะห์ เพื่อประกอบการ จัดทำเครื่องมือทางสังคมสงเคราะห์ คูมือ แนวทางปฏิบัติ เอกสารวิชาการ สื่อ เพื่อนำไป่ใช้ในการดำเนินงาน ด้านสังคมสงเคราะห์
(๖) จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์และปัญหาของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อประกอบการพัฒนา และวางแผนด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด

๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราขการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลส้มฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับจ้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเจ้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำและให้บริการทางวิชาการแก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ และองค์กรต่าง ๆ เกี่ยวกับแนวทางในการดำเนินงานด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ เพื่อพัฒนาความรู้ เทคนิค ทักษะ ในการดำเนินงานและพัฒนาบริการด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์
(๒) ให้บริการข้อมูล เอกสาร ตำรา สื่อ และคู่มือในรูปแบบต่าง ๆ เกี่ยวกับการสวัสดิการสังคม และสังคมสงเคราะห์แก่ครอบครัว กลุ่ม ชุมชน องค์กร หน่วยงานภาครัฐ เอกชน เครือข่าย ประชาชนทั่วไป และผู้ที่สนใจ เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้และเพื่อประโยชน์!นการจัดบริการทางสังคมและการให้ความช่วยเหลือ แก่กลุ่มเป๋าหมายอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
(๓) ร่วมจัดการฟิกอบรมและถ่ายทอดความรู้แกบุคลากรภายในหน่วยงานหรือส่วนราชการ ครอบครัว กลุ่ม ชุม่ชน หน่วยงานภาครัฐ เอกขน เครือข่ายและประชาชนทั่วไป เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเจ้าใจเกี่ยวกับงานด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์ที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย


วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมเครื่องกล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนึ๊
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) วางโครงการ ออกแบบ คำนวณ ควบคุมการสร้างหรือการผลิต อำนวยการใช้ กำหนดมาตรฐาน ประเมินราคา ติดตั้ง ทดลอง ทดสอบ หรือซ่อมบำรุง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนด
(๒) ศึกษา วิจัย พัฒนา และปรับปรุงงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้งานมีคุณภาพและมีมาตรฐานที่ดี
(๓) รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลเกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อให้งานมีคุณภาพและ ประสิทธิภาพที่ดี
(๔) จัดทำข้อกำหนัดและรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะ (Specifications) เกี่ยวกับงานวิศวกรรม-เครื่องกล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานขอฺงหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกลในระดับเบื้องต้น แก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็น ประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ งานวิศวกรรมเครื่องกล เพื่อประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ


วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผูปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่!ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจข้อมูล เพื่อออกแบบระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสาร ระบบฟ้องกันฟ้าผ่า ระบบสัญญาณ เตือนอัคคีภัย และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมไฟฟ้า
(๒) ศึกษาและกำหนดรูปแบบรายการ เพื่อให้!ด้มาซึ่งรายละเอียดในการก่อสร้าง การผลิต การควบคุม การติดตั้ง และการประมาณราคาในงานวิศวกรรมไฟฟ้า
(๓) ควบคุมการก่อสร้าง ติดตั้ง บำรุงรักษาระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสาร ระบบป้องกันฟ้าผ่า ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อให้ระบบมีความถูกต้อง ปลอดภัย ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๔) ตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนางานวิศวกรรมไฟฟ้าให้มีความถูกต้อง ปลอดภัยและ ประหยัดพลังงาน
(๕) จัดทำรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะเกี่ยวกับงานวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อประโยชน์สูงสุดในการ ใช้งานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนดไร้
(๒) ชี้แจงและให้รายล่ะเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้ข้อมูล ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมไฟฟ้าที่รับผิดขอบ ในระดับเบื้องต้นให้กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและ ความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ งานวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และไข้ประกอบ การพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ


วิศวกรโยธาปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใข้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานต้านวิศวกรรมโยธา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่[ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ ศึกษา วางแผน วิเคราะห์ วิจัย ออกแบบ คำนวณ ประมาณราคา ควบคุมงานก่อสร้าง งานบำรุง งานบูรณะซ่อมแชม งานอำนวยความปลอดภัย งานผังเมืองหรืองานอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมโยธา และโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชาการ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
(๒) ตรวจสอบ แบบแปลน โครงสร้าง สภาพการใช้งานของอาคารหรือโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้ เกิดความปลอดภัย
(๓) ควบคุม ดูแลการปฏิบัติงานสำรวจ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้1ด้รูปแบบแผนที่ต่าง ๆ ที่ถูกต้อง
(๔) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกำหนด กฎ ระเบียบ มาตรฐาน มาตรการ ที่เกี่ยวข้องกับ วิศวกรรมโยธา และโครงสร้างพื้นฐาน
(๕) คึก่ษา วิจัย และทดสอบวัสดุ ที่ใช้ในงานด้านวิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้มี ความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัยและประหยัดงบประมาณ
(๖) ตรวจสอบสัญญาก่อสร้าง บำรุง บูรณะซ่อมแชมและอำนวยความปลอดภัย รวมถึงการแก้ไข สัญญางานวิศวกรรมโยธา เพื่อให้งานมีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานและข้อกำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดขอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเบีาหมายผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชฺแจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับงานวิศวกรรมโยธาและ โครงสร้างพื้นฐานในความรับผิดชอบในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อให้เ.ด้ข้อมูลความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ รวมทั้งการมีส่วนร่วม
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง จัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ งานวิศวกรรุมโยธาและโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ


วิศวกรสุขาภิบาลปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวิศวกรรมสุขาภิบาล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ-ปฏิบัติงานอื่นตามที่!ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ.
(๑) วางโครงการ ออกแบบ คำนวณ ศึกษา ต้นกว้า ทดสอบ วิเคราะห์ วิจัยโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ งานด้านวิศวกรรมสุขาภิบาล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม รวมทั้งควบคุมการก่อสร้างและตรวจสอบความปลอดภัย เพื่อให้เป็นไป่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
(๒) ศึกษา วิจัย พัฒนา และปรับปรุงงานวิศวกรรมสุขาภิบาล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ได้ งานที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานที่ดี
(๓) รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปขอมูลเกี่ยวกับงานวิศวกรรมสุขาภิบาล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อให้งานมีคุณภาพและประสิทธิภาพที่ดี
(๔) ควบคุม ดูแล และจัดจ้าง ในโครงการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับงานต้านวิศวกรรมสุขาภิบาล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การปฏิบัติงานถูกต้องตามกฎหมายและเป็นไปตามข้อบังคับของกรุงเทพมหานคร
(๕) อำนวยการดูแลการใช้ การบำรุงรักษางาน ทั้งที่เป็นชิ้นงานหรือระบบ ให้เป็นไปโดยถูกต้อง ตามรูปแบบ และข้อกำหนดของหลักวิชาชีพวิศวกรรม
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการเพื่อให้ เกิดความร่วมมือและผล่สัมฤทธื้ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมสุขาภิบาล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม ในระดับเบื้องต้น แกหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ งานวิศวกรรมสุขาภิบาล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานหรือ ส่วนราชการ และใซ้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ


สถาปนิคปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใข้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อการกำหนดรายละเอียดโครงการทางสถาปัตยกรรมหลัก รวมทั้งการออกแบบวางผังเมืองประเภทต่าง ๆ และการเสนอโครงการพัฒนาเมือง
(๒) จัดทำแบบ งานปรับปรุงซ่อมแซมและต่อเดิม รวมถึงงานอนุรักษ์ ทางสถาปัตยกรรมหลัก จัดทำงบประมาณ ราคาค่าก่อสร้าง เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการพื้นที่ใช้สอยของหน่วยงานหรือส่วนราชการ และให้เต้สถาป้ฅยกรรมที่มีความเหมาะสม ประหยัด สอดคล้องตามซัอกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
(๓) ออกแบบวางผังสภาพแวดล้อมทางกายภาพของพื้นที่ กลุ่มอาคาร ชุมชนและเมือง รวมทั้ง การจัดรูปที่ดิน เพื่อให้ชุมชนน่าอยู่และมีสภาพแวดล้อมที่ดี
(๔) ควบคุมการก่อสร้าง ปรับปรุงซ่อมแซมและต่อเดิม รวมถึงงานอนุรักษ์ทางสถาปัตยกรรมหลัก เพื่อให้เป็นไปตามรูปแบบและรายการที่กำหนด
(๕) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ข้อมูล จัดทำคู1มือ เกณฑ์ มาตรฐาน แนวทาง เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ และการออกแบบทางสถาปัตยกรรมหลัก
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หน่วยงานหรือส่วนราชการ เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทฺธิ้ตามที่กำหนดไว้
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคล หน่วยงานหรือส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำ ตอบปัญหาชี้แจงและแก้ไขปัญหาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหนำที่ เพื่อให้การปฏิบ้ติงานเป็นไปอย่างถูกต้อง
(๒) จัดเก็บข้อมูลและสถิติเบื้องต้น เพื่อปรับปรุงหรือจัดทำฐานข้อมูล ระบบสารสนเทฺศ ที่เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม และหรือ งานอนุรักษ์ เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานหรือ ส่วนราชการ และใช้ประกอบการพิจารณา กำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรฐานต่าง ๆ
(๓) ตรวจสอบความถูกต้องของแบบด้านสถาปัตยกรรมหลักเบื้องต้น ซึ่งจัดทำโดยเอกขน หน่วยงานหรือส่วนราชการอื่น เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของหน่วยงานหรือส่วนราชการ
(๔) ให้ความรู้ด้านวิชาการทางสถาปัตยกรรมระดับต้นทุกสาขาแก,บุคคลทั๋วไป หน่วยงานหรือ ส่วนราชการต่าง ๆ
(๕) ร่วมเป็นกรรมการตรวจการจ้างที่เกี่ยวข้องกับงานสถาปัตยกรรมหลัก เพื่อให้เป็นไปตาม มาตรฐาน หลักเกณฑ์ที่กำหนด

วิชาที่สอบ

เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยใช้วิธีการสอบข้อเชียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับหลักการบัญชีทั่วไป งบประมาณ และการเงิน เช่น การจัดทำบัญชีเงินสด บัญชีเงินฝากธนาคาร บัญชีแยกประเภท บัญชียอยต่าง ๆ การจัดทำรายงานทางการเงิน การตรวจสอบ ความถูกต้องของบัญชีและเงินฝากธนาคาร การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี การทั่งฎีกาเบิกเงิน การตรวจสอบใบสำคัญเบิกเงิน และเอกสารประกอบการเบิกจ่ายเงิน เป็นต้น
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ไนการปฏิบัติงาน ได้แก่
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ. ๒๕๕๕ และที่แก็ไขเพิ่มเดิม
–    พระราขบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
–    ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
–    พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และที่แก็ไขเพิ่มเดิม


เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสุอบข้อเซียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางการจัดเก็บภาษี ค่าธรรมเนียม ได้แก่
๑ธ พระราชบัญญ้ติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสรัาง พ.ศ. ๒๕๖๒ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
๒. พระราชบัญญตภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช ๒๔๗๕ และที่แก!ขเพิ่มเดิม และ
กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
๓. พระราชบัญญ้ติภาษีบำรุงห้องที่ พ.ศ. ๒๕๐๘ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
๔. พระราชบัญญ้ติภาษีป้าย พ.ศ. ๒๕๑๐ และที่แก!ขเพิ่มเดิม และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวซ้อง
๕. พระราชบัญญติจัดระเบียบการจอดรถในเขตองค์กรปกครองส่วนห้องลิ่น พ.ศ. ๒๕๖๒
และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
๖. ข้อบัญญติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การเก็บภาษีบำรุงกรุงเทพมหานคร สำหรับนี้ามันเบนซิน และนี้ามันที่คล้ายกัน นี้ามันดีเซลและนํ้ามันที่คล้ายกันและก๊าชปิโตรเลียมในสถานการคาปลีก
พ.ศ. ๒๕๕๘


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบชัอเขียน (คะแนนเต็ม ๖๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติด้านฺงานธุรการ งานสารบรรณ งานพัสดุ การบริหารงานบุคคล และการงบประมาณ
๒. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
๒.๑ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๒ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แกั1ขเพิ่มเดิม
๒.๓ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ,ศ. ๒๕๔๐
๒.๔ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๕ ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง รถราชการ พ.ศ. ๒๕๖๙ และที่แกั1ขเพิ่มเดิม
๒.๖ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๗ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบรีหารพัสดุภาครัฐ พ,ศ. ๒๕๖๐
๒.๘ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงิน และการตรวจเงิน พ.ศ. ๒๕๕๕ และที่แกั1ขเพิ่มเดิม
๒.๙ พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
๒.๑๐ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕
๒.๑๑ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการใช้ตำแหน่งทางวิชาการเป็นคำนำหน้านาม พ.ศ. ๒๕๓๖
๒.๑๒ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงานหรือกิจกรรมของหน่วยงาน
. ในสังกัดกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔
๒.๑๓ การเขียนหนังสือราขการ
๒.๑๔ การเขียนรายงานการประชุม


เจ้าพนักงานพัสดุปฏิบัติงาน

ทดสอบความรูความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ
๑.๑ การซื้อ จ้าง เช่า และแลกเปลี่ย่น
๑.๒การจ้างที่ปรึกษา
๑.๓ การทำสัญญาและหลักประกัน การบริหารสัญญา และการตรวจรับพัสดุ
๑.๔ การเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม การบำรุงรักษา การตรวจสอบ และการจำหน่ายพัสดุ
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใซัในการปฏิบัติงาน
๒.๑ จรรยาบรรณของผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ พ.ศ.๒๕๔๓
๒.๒ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๓ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๔ กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๔.๑ กำหนดให้หน่วยงานอื่นเป็นหน่วยงานของรัฐตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๔.๒ กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับผู้มีสิทธิขอขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๔.๓ กำหนดพัสดุและวิธีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุที่รัฐต้องการส่งเสริมหรือสนับสนุน
พ.ศ. ๒๕๖๓ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๔.๔ กำหนดวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินการจัดซื้อจัดจ้าง
ที่ไม่ทำจ้อตกลงเป็นหนังสือ และวงเงินการจัดซื้อจัดจ้างในการแต่งตั้งผู้ตรวจรับพัสดุ
พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๔.๕ กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการขึ้นทะเบียนที่ปรึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ .
๒.๔.๖ กำหนดเรื่องการจัดซื้อจัดจ้างกับหน่วยงานของรัฐที่ใจ้สิทธิอุทธรณใม่ได้ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๔.๗ กำหนดกรณีการจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง พ.ศ.๒๕๖๑ และที่แก้ใขเพิ่มเดิม


เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนึ้โดยใช้วิธีการสอบข้อเซียน (คะแนนเต็ม ๖๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมและวิทยาศาสตร์
–    ด้านสิ่งแวดล้อมทางอากาศ ขยะ และนํ้าเลีย
–    ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เบื้องต้น
–    การจัดเตรียมเครื่องแกว เครื่องมือ และอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ รวมถึงการดูแลรักษา
–    การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ในการวิเคราะห์เบื้องต้น .
–    วิธีการเก็บรักษาวัสดุวิทยาศาสตร์ เคมีภัณฑ์ ให้ถูกต้องและปลอดภัย
–    วิธีการเก็บตัวอย่างเบื้องต้นของขยะ สิ่งปฏิถูล นามันและไขมัน ป๋ยอินทรีย์ และนาเสียจาก แม่นํ้า คลอง สระนํ้า บีง และระบบบำบัดต่าง ๆ
–    การเตรียมสารเคมี การคำนวณความเข้มข้นชองสารเคมีเบื้องต้น
–    การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
–    ความรู้ด้านความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของห้องปฏิบัติการและโรงงานกำจัดของเสีย
–    ให้คำแนะนำและคำปรึกษาแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องในเรื่องเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
๒. ความรู้เกี่ยวกับนโยบายทางด้านสิ่งแวดล้อมชองกรุงเทพมหานคร และกฎหมายสิ่งแวดล้อม ที่เกี่ยวข้องในด้านคุณภาพนํ้า ขยะ และอากาศ
–    พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
–    พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
. – พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อย พ.ศ. ๖๕๓๕ และ ที่แก้ไขเพิ่มเดิม


เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบฃ้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับงานด้านการติดต่อสื่อสารตามพระราชบัญญ้ตวิทยุคมนาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ และที่แกั!ขเพิ่มเดิม
๒. ระเบียบที่เกี่ยวข้องตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ .(กสทช.)
๓. หลักการติดต่อสื่อสารที่กรุงเทพมหานครใช้ในปัจจุบัน เช่น Digital Trunked Radio System (DTRS)
๔. หลักปฏิบัติในการติดต่อสื่อสาร การใช้ การดูแลรักษาวิทยุสื่อสาร และเครื่องมือสื่อสาร
๕. การประยุกต์ใช้ระบบโชเชียลเน็ตเวิร์ก และการนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้กับงานที่ปฏิบัติ ให้เหมาะสม และระบบสารสนเทศ
๖. การติดต่อวิทยุสื่อสารในระบบ VHF/FM ของกรุงเทพมหานคร


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยใช้วิธีการสอบข้อเซียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
การบำรุงรักษา ซ่อม แก้ไข ปรับปรุง แผนงาน เครื่องมือ อปกรณ์ที่จะใช้กับเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และเครื่องทุ่นแรง การออกแบบ เซียนแบบเครื่องกล การใช้เครื่องมือวัดละเอียด การสอบเทียบเครื่องมือวัดละเอียด การเชื่อมโลหะ การใช้งานเครื่องมือช่าง การดูแล จัดเก็บ และบำรุงรักษาอย่างลูกวิธี การจัดหาพัสดุมาใช้งาน อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดุทำรายงาน การจัดเก็บข้อมูลสถิติด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น การให้คำปรึกษา แนะนำที่เกี่ยวซ้องกับงานในหนัาที่กับผู้รับบริการ หรือประชาชนทั่วไป และมีความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ทางช่าง ในปัจจุบัน เทคนิคและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ทรัพยากร พลังงาน และสิ่งแวดล้อม หลักการทำงานและวิธีการใช้งาน เครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องจักรกลต่าง ๆ


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับงานด้านเทคนิคต่าง ๆ เช่น ซ่อม สร้าง ประกอบ บำรุงรักษา ดัดแปลง ออกแบบ เบื้องต้น ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือทางไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักรกล การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า ชิมนํ้า เครื่องทำความเย็น เครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ (ขิลเลอร์) เครื่องจักร เครื่องยนต์ โลหะ เครื่องมือเกี่ยวกับ อุปกรณ์งานช่าง งานทางด้านสาธารณูปโภค เครื่องจักรกล เครื่องวิทยุคมนาคม งานโครงสร้างอาคาร การประหยัดพลังงาน เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งมีความรู้ในเรื่องการคำนวณรายการและ ประมาณราคาค่าอุปกรณ์เพื่อใข้ในการประมาณราคา การจัดชั้ออุปกรณ์ให้เหมาะสมต่อพื้นที่และการใช้งาน
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
–    พระราชบัญญัติส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกั1ชเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ และที่แกัเ.ขเพิ่มเดิม .
–    กฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๓ พ.ศ. ๒๕๓๕ ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
และที่แกั[ขเพิ่มเดิม


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

ทดสอบความรูความสามารถดังต่อไปนี้โดยใช้วธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ความรู้เกี่ยวกับงานด้านช่างไฟฟ้า ได้แก่ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนแบบ อ่านแบบไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ การประมาณราคา การควบคุมงานและติดตั้งวัสดุ อุปกรณ์ ปรับปรุง ซ่อม และบำรุงรักษา งานระบบไฟฟ้าสื่อสาร ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื่องตรวจวัด ระบบพลังงานทดแทน การคำนวณ หาขนาดวัสดุ อุปกรณ์ในงานระบบไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ การตรวจสอบ และจัดทำแผนการซ่อมบำรุง ดูแล รักษาวัสดุอุปกรณ์ ในงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งจัดทะเบียน รวบรวมและเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยใช้วิธีการสอบข้อเซียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. งานช่างสำรวจ
๒. งานช่างเซียนแบบ ออกแบบ และการกำหนดรายการประกอบแบบก่อสร้าง
๓. กฎหมายควบคุมอาคาร กฎหมายผังเมือง และกฎหมายสิ่งแวดล้อม
๔. งานถอดแบบ และประมาณราคาค่าก่อสร้าง
๕. การควบคุมการก่อสร้าง งานปรับปรุงและซ่อมแชม
๖. การวางแผนงานโครงการก่อสร้าง
๗. การดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหานํ้าท่วม การระบายนํ้าและการบำรุงรักษาแหล่งนี้า
๘. การให้คำปรึกษา แนะนำ หรือตรวจสอบเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป


นายช่างสํารวจปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดัง่ต่อไปนี้โดยใช้วิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๖๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้Iนการปฏิบัติงานด้านช่างสำรวจ ได้แก่
–    งานสำรวจที่เกี่ยวกับการเก็บรายละเอียดสภาพภูมิประเทศ
–    งานวงรอบที่เกี่ยวกับวงรอบชนิดต่าง ๆ การตรวจฺสอบและปรับแก้วงรอบ
–    งานระดับที่เกี่ยวกับการสำรวจค่าระดับภูมิประเทศและการปรับแก้ เช่น การหาความสูงตํ่า ของพื้นที่ การเขียนค่าเส้นชั้นความสูง การหาค่าดินตัดดินถม
–    งานคำนวณและเขียนแผนที่ เช่น การ,คำนวณระยะ การคำนวณพื้นที่จากค่าพิกัดฉาก สัญลักษณ์ต่าง ๆ ในงานแผนที่
–    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายดาวเทียม เช่น ประโยขน์ของ ภาพก่าย หลักการแปลภาพถ่าย
–    ความรู้เกี่ยวกับระวางแผนที่
–    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสำรวจและจัดทำแผนที่ด้วยระบบดาวเทียม
–    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
–    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมประยุกต์ที่ใชIนงานเขียนแผนที่ เช่น
โปรแกรม Autocad
–    ความรู้เกี่ยวกับการดูแล บำรง รักษา เครื่องมือสำรวจ
๒. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายที่ใช้ในงานดูแลรักษาที่สาธารณะ ได้แก่
–    พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. ๒๔๕๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
–    พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ และที่แก้!ขเพิ่มเดิม ประมวลกฎหมายที่ดิน


พนักงานเทศกิจปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถเกี่ยวกับงานเทศกิจ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน ได้แก่ การสอบข้อเขียน (๑๖๐ คะแนน) และการสอบปฏิบัติ (๔๐ คะแนน) ชี่งผู้เข้าสอบต้องเข้าสอบทั้ง ๒ ส่วน และได้คะแนนรวมกันไม่ตากว่าร้อยละ ๖๐ จึงจะมีสิทธิเข้าสอบในภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป รายละเอียดด้งนี้
๑. การสอบข้อเขียน (๑๖๐ คะแนน)
๑.๑ พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบัานเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้เขเพิ่มเดิม
๑.๒ สิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ
๑.๓ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้เขเพิ่มเดิม
๑.๔ พระราชบัญญัติการคุดดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ และ
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมการชุดดิน การถมดิน พ.ศ. ๒๕๓๔
๑.๕ พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้เขเพิ่มเดิม ในส่วนของการบังคับที่อยู่ใน อำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร

๑.๖ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๑.๗ พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.. ๒๕๓๙
๑.๘ พระราชบัญญัติข้อมูลฺข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๙ ซ้อบัญญัตกรุงเทพมหานคร เรื่อง การจำหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๕
๑.๑๐ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแบ่งค่าปรับที่ได้จากการ เปรียบเทียบให้แก่ผู้แจ้งความนำจับตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาดและความเป็น ระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๖๐
๑.๑๑ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ และที่แก1ขเพิ่มเดิม
๑.๑๒ พระราชบัญญัติระเบียฺบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔
๑.๑๓ วินัยข้าราชการ
๑.๑๔ ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
๑.๑๕ พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒
๑.๑๖ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการดำเนินคดี พ.ศ. ๒๕๒๘
๒. การสอบปฏิบัติ (๔๐ คะแนน)
ผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนภาคความรู้ความสามารถทั่วไป และเข้าสอบข้อเขียนภาคความรู้ความสามารถ ที่ใช้’เฉพาะตำแหน่ง จะต้องเข้าสอบปฏิบัติ•(การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย) ทั่งนี้ผู้ที่ไม่เข้าสอบปฏิบัติ (การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย) ถือว่า1เป็นผู้ขาดสอบ” และไม่มีสิทธิเช้าสอบภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป
การสอบปฏิบัติ (การทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย) แบ่งออกเป็น ๔ ฐาน ๆ ละ ๑๐ คะแนน ด้งต่อไปนี้
๒.๑ วิ่ง ระยะทาง ๔๐๐ เมตร (๑๐ คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน ด้งนี้
เพศชาย        . เพศหญิง    
เวลา        เวลา    
ไม่เกิน ๑ นาที ๓๐ วินาที    ๑๐    ไม่เกิน ๑ นาที ๔๕ วินาที    ๑๐
๑.๓๑ – ๑.๓๕ นาที    ๙    ๑.๔๖ – ๑.๕๐ นาที    ๙
๑.๓๖ – ๑.๔๐ นาที    ๘    ๑.๕๑ – ๑.๕๕ นาที    ๘
๑.๔๑ – ๑.๔๕ นาที    ๗    ๑.๕๖ – ๒.๐๐ นาที    ๗
๑.๔๖ – ๒.๐๐ นาที    ๖    ๒.๐๑ – ๒.๑๕ น่าที    ๖
๒.๐๑ นาทีขึ้นไป    O    ๒.๑๖ นาทีขึ้นไป    O

๒.๒ ว่ายนา ระยะทาง ๒๕ เมตร (๑๐ คะแนน)
การปฏิบัติ – ท่าเตรียม ผู้เข้ารับการทดสอบอืนที่จุดเริ่มต้นโดยให้ลงสระแล้วเกาะที่ขอบสระ
ที่จุดเริ่มต้นพร้อมที่จะปฏิบัติ
–    ท่าปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณ ให้ผู้เข้ารับการทดสอบพุ่งตัวหรือเคลื่อนตัวออกจาก ขอบสระในจุดเริ่มต้นแล้วว่ายนํ้าโดยเร็วจนถึงขอบสระหรือจุดที่กำหนดเป็น จุดสินสุด ให้ถือเอาส่วนใดของร่างกายแตะขอบสระหรือจุดที่กำหนดเป็น จุดสินสุด
–    ห้ามมีให้ผู้เข้ารับการทดสอบเกาะทุ่นหรือขอบสระหรือใชัเท้าแตะพื้นสระในการพยุง การเคลื่อนตัวเข้าจุดสิ้นสุด ให้ถือว่า “ไม่ผ่าน,,
เกณฑ์การให้คะแนน ดังน
เพศชาย        เพศหญิง    
เวลา        เวลา    
ไม่เกิน ๓๐ วินาที    ๑๐    ไม่เกิน ๔๐ วินาที    ๑๐
๓๐.๐๑ – ๓๕.๐๐ วินาที    ๙    ๔๐.๐๑ – ๔๕.๐๐ วนาท    ๙
๓๕.๐๑ – ๔๐.๐๐ วินาที    ๘    ๔๕.๐๑ – ๕๐.๐๐ วินาที    ๘
๔๐.๐๑ – ๔๕.๐๐ วินาที    ๗    ๕๐.๐๑ – ๕๕.๐๐ วินาที    ๗
๔๕.๐๑ – ๕๐.๐๐ วินาที    ๖    ๕๕.๐๑ – ๖๐.๐๐ วินาที    ๖
๕๐.๐๑ – ๖๐.๐๐ วินาที    ๕-    ๑,๐๑ – ๒.๐๐ นาที    ๕
๑.๐๑ นาทีขึ้นไป    O    ๒.๐๑ นาทีขึ้นไป    O
๒.๓ ลุกนั่ง ภายในเวลา ๑ นาทื (๑๐ คะแนน)
การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก เท้าทั้งสองข้างห่างกัน พอประมาณ ฝ่ามือทั้งสองประสานกันที่ท้ายทอย ผู้ช่วยคุกเข่าอยู่บนปลายเท้าของผู้เข้ารับุการทดสอบ โดยเอามือ ทั้งสองข้างกดข้อเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบไว้ให้ส้นเท้าติดพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม,, ให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ลุกขึ้นนั่ง ให้ศอกสองข้างแตะปลายเข่าแล้วกลับลงไปนอนราบนับเป็น ๑ ครั้ง ขณะปฏิบัตินิ้วมือประสานที่ท้ายทอย ตลอดเวลา และขณะที่ลุกขึ้นสู่ท่านั่งห้ามเอนตัวไปมา
เกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
เพศขาย        เพศหญิง    
จำนวน (ครั้ง)        จำนวน (ครั้ง)    ไ
๓๐    ๑๐    ๒๐    ๑๐
๒๙    ๙    ๑๙    ๙
๒๘    ๘    6)๘    ๘
๒๗    ๗    ๑๗    ๗
๒๖    ๖    ๑๖    ๖
๒๕    ๕    ๑๕    ๕
ตํ่ากว่า ๒๕    O    ตํ่ากว่า ๑๕    o

๒.๔ ดันพื้น ภายในเวลา ๑ นาที (๑๐ คะแนน)
การปฏิบ้ติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนควั๋ามือยันพื้น แขนทั้งสองเหยียดตรงห่างกันพอประมาณ ลำตัวเหยียดตรง (เพศขายให้ปลายเท้าจรดพื้น, เพศหญิงให้หัวเข่าและปลายเท้าจรดพื้น) ยุบแขนทั้งสองข้างลง พร้อมกันให้บริเวณหน้าอกห่างจากพื้นประมาณ ๑ ฝ่ามือ แลัวดันลำตัวขึ้น ห้ามทำตัวแอ่น หรือเอียงไปข้างใด ข้างหนึ่ง หรือแขนทั้งสองข้างขึ้นไม่พร้อมกัน เท่ากับการนับ ๑ ครั้ง
เกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
เพศชาย        เพศหญิง    
จำนวน (ครั้ง)        จำนวน (ครั้ง)    
๒๕    ๑๐    ๒๕    ๑๐
๒๔    ๙    ๒๔    ๙
๒๓    ๘    ๒๓    ๘
๒๒    ๗    ๒๒    ๗
๒๑    ๖    ๒๑    ๖
๒๐    ๕    ๒๐    ๕
๑๙    ๔    ๑๙    ๔
<5)๘    ๓    6)๘    ๓
๑๗    ๒    ๑๗    ๒
๑๖    ๑    ๑๖    ๑
ตํ่ากว่า ๑๖    O    ตํ่ากว่า ๑๖    O


พนักงานปกครองปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานด้านการทะเบียนและปกครอง ได้แก่
–    การเลือกตั้งระดับชาติ การประชามติ การเลือกตั้งระดับท้องถิ่นของกรุงเทพมหานคร
–    ด้านการทะเบียนราษฎร ได้แก่ การแจ้งย้ายเข้า – ออก การแจ้งเกิด การแจ้งตาย และ การลงทะเบียนแรงงานต่างด้าว
–    การทะเบียนบัตรประจำตัวประชาชน
–    การทะเบียนทั่วไป ได้แก่ การจดทะเบียนสมรส การจดทะเบียนหย่า การจดทะเบียนรับรองบุตร การจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรม และการจดทะเบียนชื่อบุคคล
–    ด้านการทะเบียนปกครอง ได้แก่ การจดทะเบียนพินัยกรรม การจดทะเบียนมูลนิธิ สมาคม การจดทะเบียนพาณิชย์
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใข้ในการปฏิบัติงานได้แก่
–    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย.พุทธศักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐
–    พระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. ๒๕๐๘ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติการจดทะเบียนครอบครัว พ.ศ. ๒๔๗๘ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้!,ขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติงาน

ทดสอบความรู้ความสามารถ ดังต่อไปนี้
๑. การสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการและปฏิบัติการเกี่ยว.กับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น สำรวจตรวจตราเพื่อป้องกันและระงับอัคคีภัย การป้องกันและบรรเทาอันตรายจากอุทกภัย วาตภัย และ ภัยอื่น ๆ เป็นต้น รวม่ทั้งทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการต็นฟูและบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัย
๑.๒ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
–    พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๕๕๐
–    พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แกัเ.ขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้อง
กับการป้องกันอัคคีภัย) และกฎ่กระทรวงฉบับที่ ๓๓ (พ.ศ. ๒๕๓๕) กฎกระทรวงฉบับที่ ๓๙
(พ.ศ. ๒๕๓๗) กฎกระทรวงฉบับที่ ๔๗ (พ.ศ. ๒๕๔๐)
–    กฎกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการด้านความปลอดภัย อาซีวอนามัยและสภาพแวดลัอมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕
๒. การสอบปฏิบัติ
ผู้ที่สอบผ่านข้อเซียนภาคความรู้ความสามารถทั่วไป และภาคความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะ ตำแหน่งจะต้องเข้ารับการทดสอบการปฏิบัติงานเพื่อเตรียมความพร้อมทางร่างกาย ซึ่งจะต้องทดสอบผ่านทุกข้อ จึงจะถือว่า “ผ่าน” ดังนี้
๒.® วิ่ง ระยะทาง ๑,๐๐๐ เมตร
เกณฑ์การหดสอบ ผู้ที่ทำเว่ลาไม่เกิน ๖ นาที ถือว่า “ผ่าน” และมีสิทธิเข้าทดสอบในข้อ ๒.๒
๒.๒ ว่ายนํ้า ระยะทาง ๕๐ เมตร
เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน ๑ นาที ๓๐ วินาที โดยไม่สาวลู่ ถือว่า “ผ่าน”
และมีสิทธิเข้าทดสอบในข้อ ๒.๓

๒.๓ ทดสอบความพร้อมในการปฏิน้ตงานด้วยท่าต่าง ๆ จำนวน ๔ ท่า เกณฑ์การทดสอบ จะติ,คงทดสคาเผ่าบหุคท่าจึงจะ.ถืคว่า “ผ่าน” ด้งนี้ (๑) ดึงข้อ
ทารปฏิบัติ ะ ผู้เข้ารับการทดสอบจับราวเดี่ยวด้วยท่าจับควํ่ามือ มือห่างกันเท่าช่วงไหล่ ปล่อยตัวฺให้ตรงจนแขน ลำตัว และขาเหยียดตรง เท้าพ้นพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ผู้เข้ารับการทดสอบออกแรง โดยงอแขนดึงตัวขึ้นให้คางพ้นหรือเสมอระดับราวแล้วปล่อยตัวลงให้ศีรษะตํ๋ากว่าราว เท่ากับการนับ ๑ ครั้ง
เกณฑ์การทดสอบ
– ผู้เข้าทดสอบเพศขายดึงข้อได้ครบ ๕ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
หากดึงข้อไม่ครบ ๕ ครั้ง และเท้าแตะพื้น ถือว่า “ไม่ผ่าน”
– ผู้เข้าทดสอบเพศหญิงดึงข้อได้ครบ ๓ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน” หากดึงข้อไม่ครบ ๓ ครั้ง และเท้าแตะพื้น ถือว่า “ไม่ผ่าน”
(๒) ลุกนั่ง ภายในเวลา ๑ นาที
การปฏิบัติ ะ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย เช่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก เท้าทั้งสองข้างห่างกัน พอประมาณ ฝ่ามือทั้งสองประสานกันที่ท้ายทอย ผู้ช่วยคุกเช่าอยู่บนปลายเท้าของผู้รับการทดสอบ โดยเอามือ ทั้งสองข้างกดข้อเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบไว้ ให้สันเท้าติดพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ลุกขึ้นนั่ง ให้ศอกทั้งสองข้างแตะปลายเช่าแล้วกลับลงไปนอนราบนับเป็น ๑ ครั้ง ขณะปฏิบัตินิ้วมือประสาน ที่ท้ายทอยตลอดเวลา
เกณฑ์การหดสอบ ผู้ที่ทำได้ ๒๐ ครั้งถือว่า “ผ่าน”
(๓) แบกตุ๊กตานํ้าหนัก ๕๐ กิโลกรัม
การปฏิบัติ ะ ผู้เข้ารับการทดสอบแบกตุ๊กตา ขึ้นและลงบันไดดับเพสิงความสูง ๒ เมตร เกณฑ์การหดสอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน๔๕วินาที ถือว่า “ผ่าน”
(๔) ดันพื้น ภายในเวลา ๑ นาที
การปฏิบัติ ะ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนความือยันพื้น แขนทั้งสองเหยียดตรงห่างกัน พอประมาณ ลำตัวเหยียดตรงปลายเท้าจรดพื้น ยุบแขนทั้งสองข้างลงพร้อฺมกันให้บริเวณหน้าอกห่างจากพื้น ๑๕ เซนติเมตร แล้วดันลำตัวขึ้น แขนทั้งสองเหยียดตรง ห้ามทำตัวแอ่น หรือเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง หรือแขน ทั้งสองข้างขึ้นไม่พร้อมกัน เท่ากับการนับ ๑ ครั้ง
เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำได้ ๒๐ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
ทั้งนี้ การทดสอบการปฏิบัติงานเพื่อเตรียมฺความพร้อมทางร่างกาย จะไม่มีการกำหนดคะแนนและ ใช้เกณฑ์การตัดสิน “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ผู้สอบผ่านการทดสอบการปฏิบัติงานเพื่อเตรียมความพร้อมทางร่างกาย จึงจะมีสิทธิเข้าสอบในภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป


หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ เป็นซ้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ
ตามประกาศรับสมัครสอบแช่งขันฯ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๔ (ตำแหน่งประเภทที่วิไป ระดับปฏิบัติการ)

ก. การสอบเพื่อวัดภาคความรู้ความสามารถทั่วใป (คะแนนเต็ม ๒๐0 คะแนน) โดยุวิธีการสอบข้อเซียนในวิชาด้งต่อไปนี้
๑. วิชาศวามุสามารถในการคิดวิเคราะห์ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ทดสอบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ครอบคลุมประเด็น ดังนี้ (๑) การคิดวิเคราะห์เซิงภาษา ได้แก่ การใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ความเช้าใจในการอ่านภาษาไทย การจับใจความสำคัญ การสรุปความ การดีความจากบทความ ขอความหรือสถานการณ์ต่าง ๆ
(๒) การคิดวิเคราะห์เชิงนามธรรม ได้แก่ การคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงคำ ช้อความ หรือรูปภาพ ตลอดจนการหาข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้อความ สัญลักษณ์ รูปภาพ สถานการณ์ หรือแบบจำลองต่าง ๆ และ
(๓) การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณได้แก่ ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด และแกปัญหาทางคณิตศาสตร์ เบื้องด้น การเปรียบเทียบและวิเคราะห์เชิงปริมาณ ตลอดจนการประเมินความเพียงพอของข้อมูล
๒. วิชาภาษาอังกฤษ (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
ทดสอบทักษะภาษาอังกฤษเพื่อวัดความเขาใจในหลักการสื่อสาร โดยใช้ศัพท์ สำนวน โครงสร้าง-ประโยคที่เหมาะสมทั้งในเชิงความหมาย และบริบท แสดงถึงความสามารถในการสื่อสารที่มีประสีทธิภาพ การวัดความสามารถด้านการอ่าน โดยทดสอบกฺารทำความเข้าใจในสาระของข้อความ หรือบทความ และ การวัดความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษในระดับเบื้องด้น
๓. วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ที่เป็นพื้นฐานของการเป็นข้าราชการที่ดี ความรู้ดังกล่าว ได้แก่ ระเบียบบริหาร-ราชการแผ่นดิน หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง หน้าที่และความรับผิด ในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ตลอดจนเจตคติและจริยธรรมสำหรับข้าราชการ
ข. การสอบแข่งขันเพื่อวัดภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถที่ใช้Iนการปฏิบัติงานในหน้าที่ โดยวิธีการสอบข้อเขียน การสอบปฏิบัติ ตามที่กำหนดไวิในรายละเอียดเกี่ยวกับตำแหน่งที่รับสมัครสอบแข่งขันๆ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๔
ค. การสอบแข่งขันเพื่อวัดภาคความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่ โดยวิธีคังนี้ ๑. การประเมินหางจิตวิทยาเกี่ยวกับทัศนคติสำหรับการปฏิบัติราชการ โดยวิธีการสอบข้อเซียน ๒. การทดสอบสมรรถนะของข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญ โดยวิธีการสอบข้อเขียน ๓. การสัมภาษณ์ เกี่ยวกับทัศนคติสำหรับการปฏิบัติราชการ สมรรถนะ และหรือความเหมาะสม ในด้านต่าง ๆ เช่น ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ทวงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ปฏิภาณ ไหวพริบ บุคลิกภาพ และพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน

เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถเกี่ยวกับงานเทศกิจ (คะแนนเต็ม ๖๐๐ คะแนน) โดยแบ่งออกเป็น ๖ ส่วน ได้แก่ การสอบข้อเขียน (๑๖๐ คะแนน) และการสอบปฏิบัติ (๔๐ คะแนน) ซื่งผู้เข้าสอบต้อ่งเข้าสอบทั้ง ๒ ส่วน และไต้คะแนนรวมกันไม่ตากว่าร้อยละ ๖๐ จึงจะมีสิทธิเข้าสอบในภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป รายละเอียดด้งนี้ .
๑. การลอบข้อเซียน (๑๖๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ การกำหนดมาตรการ แนวทางปฏิบัติงาน การจัดทำแผน การวางแผน การข่าว การใข้กำลังคนด้านเทศกิจ การควบคุม ดูแล การตรวจตราพื้นที่ สังเกตความผิดปกติ ของวัตลุสิ่งของหรือบุคคล การเฝ็าระวังการดำเนินการต่าง ๆ ของประชาชน การปฏิบัติงานมวลชนสัมพันธ์
๑.๒ ความรู้เกี่ยฺวกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามกฎหมายรัฐธรรมมูญ
๑.๓ บทบาทและอำนาจของเจัาหน้าที่ เทศกิจในเรื่องการจับ การปรับ การดำเนินคดี การอึด อายัดเอกสารหลักฐาน ยานพาหนะ หรือสิ่งใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกระทำผิด ตามประมวลกฎหมายอาญา ประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอ่าญา ความเข้าใจในกฎหมายปกครองเพื่อป้องกันการถูกดำเนินคดี ทางปกครอง การดำเนินการทางปกครอง
๑.๔ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
–    พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มฺเดิม
–    พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเดิมํ ในส่วนของการบังคับที่อยู่ใน อำนาจหน้าที่ของกรุงเทพมหานคร
–    พระราชบัญญัติการชุดดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ และข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมการชุดดิน- การถมดิน พ.ศ. ๒๕๓๔
–    พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การจำหน่ายสินด้าในที่หรือทางสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๔๕
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการแบ่งค่าปรับที่ได้จาก การเปรียบเทียบให้แก่ผู้แจ้งความนำจับตามกฎหมายว่าด้วยการรักษาความสะอาดและ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. ๒๕๖๐
–    พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ และที่แกัไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔
–    วินัยข้าราชการ
–    ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
–    พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒
–    ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการดำเนินคดี พ.ศ. ๒๕๒๘

๒. การสอบปฏิบัต (๔๐ คะแนน)
ผู้ที่สอนุผ่านข้อเขียนภาคความรู้ความสามารถทั่วไป และเข้าสอบข้อเซียนภาคความรู้ความสามารถ ที่ใซัเฉพาะตำแหน่ง จะต้องเข้าสอบปฏิบัติ (การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย) ทั้งนี้ ผูที่ไม่เข้าสอบปฏิบัติ (การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย) ถือว่า,,เป็นผู้ขาดสอบ” และไม่มีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป
การสอบปฏิบัติ (การทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย) แบ่งออกเป็น ๔ ฐาน ๆ ละ ๑๐ คะแนน ด้งต่อไปนี้
๒.๑ วิ่ง ระยะทาง ๔๐๐ เมตร (๑๐ คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน.ด้งนี้
เพศขาย        เพศหญิง    
เวลา    ร^แน^ร    เวลา    
ไม่เกิน ๑ นาที ๓๐ วินาที    ๑๐    ไม่เกิน ๑ นาที ๔๕ วินาที    ๑๐
๑.๓๑ – ๑.๓๕ นาที    ๙    ๑.๔๖ – ๑.๕๐ นาที    ๙
๑.๓๖ – ๑.๔๐ นาที    ๘ ■    ๑.๕๑ – ๑.๕๕ นาที    ๘
๑.๔๑ – ๑.๔๕ นาที    ๗    ๑.๕๖ – ๒.๐๐ นาที    ๗
๑.๔๖ – ๒.๐๐ นาที    ๖    ๒.๐๑ – ๒.๑๕ นาที    ๖
๒.๐๑ นาทีขึ้นไป    O    ๒.๑๖ นาทีขึ้นไป    O
๒.๒ ว่ายนํ้า ระยะทาง ๒๕ เมตร (๑๐ คะแนน)
การปฏิบัติ – ท่าเตรียม ผู้เข้ารับการทดสอบยืนที่จุดเริ่มต้นโดยให้ลงสระแล้วเกาะที่ขอบสระ
ที่จุดเริ่มต้นพร้อมที่จะปฏิบ้ต
–    ท่าปฏิบัติ เมื่อไต้ยินสัญญาณ ให้ผู้เข้ารับการทดสอบพุ่งตัวหรือเคลื่อนตัวออกจาก ขอบสระในจุดเริ่มต้นแล้วว่ายนํ้าโดยเร็วจนถึงขอบสระหรือจุดที่กำหนดเป็น จุดสินสุด ให้ถือเอาส่วนใดของร่างกายแตะขอบสระหรือจุดที่กำหนดเป็น จุดสินสุด
–    ห้ามมิให้ผู้เข้ารับการทดสอบเกาะทุ่นหรือขอบสระหรือใชัเท้าแตะพื้นสระในการพยุง การเคลื่อนตัวเข้าจุดสินสุด ให้ถือว่า “ไม่ผ่าน,,
เกณฑ์การให้คะแนน ตังนี้
เพศขาย        เพศหญิง    
เวลา    ■■■ค้^นน^;    เวลา    
ไม่เกิน ๓๐ วินาที    ๑๐    ไม่เกิน ๔๐ วินาที    ๑๐
๓๐.๐๑ – ๓๕.๐๐ วนาท    ๙    ๔๐.๐๑ – ๔๕.๐๐ วินาที    . ๙
๓๕.๐๑ – ๔๐.๐๐ วินาที    ๘    ๔๕.๐๑ – ๕๐.๐๐ วินาที    ๘
๔๐.๐๑ – ๔๕.๐๐ วนาท    ๗    ๕๐.๐๑ – ๕๕.๐๐ วินาที    ๗
๔๕.๐๑ – ๕๐.๐๐ วินาที    ๖    ๕๕.๐๑ – ๖๐.๐๐ วนาท    ๖
๕๐.๐๑ – ๖๐.๐๐ วินาที    ๕    ๑.๐๑ – ๒,๐๐ นาท    ๕
๑.๐๑ นาทีขึ้นไป    O    ๒.๐๑ นาทีขึ้นไป    O

๒.๓ ลุกนั่ง ภายในเวลา ๑ นาที (๑๐ คะแนน)
การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนหงาย เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก เท้าทั้งสองข้างห่างกัน พอประมาณ ฝ่ามือทั้งสองประสานกันที่ท้ายทอย ผู้ข่วยคุกเข่าอยู่บนปลายเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบ โดยเอามือ ทั้งสองข้างกดข้อเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบไว้ให้ส้นเท้าติดพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ลุกขึ้นนั่ง ให้ศอกสองข้างแตะปลายเข่าแล้วกลับลงไปนอนราบนับเป็น ๑ ครั้ง ขณะปฏิบัตินิ้วมือประสานที่ท้ายทอย ตลอดเวลา และขณะที่ลุกขึ้นส่ท่านั่งห้ามเอนตัวไปมา
เกณฑ์การให้คะแนน ดังนิ้
เพศชาย        เพศหญิง    
จำนวน (ครั้ง)    พดรใตฒ®    จำนวน (ครั้ง)    
๓๐    ๑๐    ๒๐    ๑๐
๒๙    ๙    ๑๙    ๙
๒๘    ๘    (9)๘    ๘
๒๗    ๗    ๑๗    ๗
๒๖    ๖    ๑๖    ๖
๒๕    ๕    ๑๕    ๕
ตํ่ากว่า ๒๕    O    ตํ่ากว่า ๑๕    O
๒.๔ ดันพื้น ภายในเวลา ๑ นาที (๑๐ คะแนน)
การปฏิบัติ ผู้เข้ารับการทดสอบนอนควํ่ามือยันพื้น แขนทั้งสองเหยียดตรงห่างกันพอประมาณ ลำคัวเหยียดตรง (เพศขายให้ปลายเท้าจรดพื้น, เพศหญิงให้หัวเข่าและปลายเท้าจรดพื้น) ยุบแขนทั้งสองข้างลง พร้อมกันใหับริเวณหน้าอกห่างจากพื้นประมาณ ๑ ฝ่ามือ แล้วคันลำตัวขึ้น ห้ามทำตัวแอ่น หรือเอียงไปข้างใด ข้างหนึ่ง หรือแขนทั้งสองข้างขึ้นไม่พร้อมกัน เท่ากับการนับ ๑ ครั้ง
เกณฑ์การให้คะแนน คังนิ้
เพศชาย        เพศหญิง    
จำนวน (ครั้ง)        จำนวน (ครั้ง)    
๒๕    ๑๐    ๒๕    ๑0
๒๔    ๙    ๒๔    ๙
๒๓    ๘    ๒๓    ๘
๒๒    ๗    ๒๒    ๗
๒๑    ๖    ๒๑    ๖
๒๐    ๕    ๒๐    ๕
๑๙    ๔    ๑๙    ๔
๑๘    ๓    6)๘    ๓
๑๗    ๒    ๑๗    ๒
๑๖    ๑    ๑๖    ๑
ตํ่ากว่า ๑๖    o    ตํ่ากว่า ๑๖        o


เจ้าหน้าที่ปกครองปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
■๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏีบ้ติงานด้านการทะเบียนและปกครอง ได้แก่
–    การเมืองการปกครองและการเลือกตั้งระดับชาติ การประชามติ การเลือกตั้งระดับท้องถิ่น
ของกรุงเทพมหานคร
–    กฎหมายปกครองห้องที่ การทะเบียนปกครอง
–    กฎหมายทะเบียนราษฎร ทะเบียนบัตรประจำตัวประชาขน ทะเบียนทั่วไป ทะเบียนชื่อบุคคล
–    กฎหมายเกี่ยวกับความมั่นคง การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การรักษาความสงบเรียบร้อย และการดำเนินงานเกี่ยวกับมวลชน –
–    การวางแผน การจัดทำโครงการ การฟิกอบรม และการประสานงาน
–    ความรู้เกี่ยวกับการให้บริการประชาชนและการประชาสัมพันธ์งานในอำนาจหน้าที่
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใชIนการปฏิบัติงาน ได้แก่
–    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธดักราช ๒๕๖๐ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
–    พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดช่องเจัาหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
–    พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
– พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอบุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘


เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถ ด้งต่อไปนี้
๑. การลอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑.๑ ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ วิจัย การวางแผนเพื่อระงับอัคคีภัย การป้องกันและบรรเทา อันตรายจากอุทกภัย วาตภัย และภัยอื่น ๆ รวมทั้งทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพิ่นฟูและบรรเทาทุกข์ ผู้ประสบภัย
๑.๒ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
–    พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. ๒๔๕๐
–    พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ และที่แกั1ขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติวัตลุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕ และที่แภัเ.ขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔
–    กฎกระทรวงฉบับที่ ๓๓ (พ.ศ. ๒๕๓๕) กฎกระทรวงฉบับที่ ๓๙ (พ.ศ. ๒๕๓๗) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๗ (พ.ศ. ๒๕๔๐) กฎกระทรวงฉบับที่ ๕๐ (พ.ศ. ๒๕๔๐) และกฎกระทรวงฉบับที่ ๕๕ (พ.ศ. ๒๕๔๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
–    กฎกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการและดำเนินการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับการป้องกัน และ ระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕
–    ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๘
–    ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๔๔
–    แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๒
–    ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๒ – พระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ. ๒๕๐๙ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    กฎกระทรวงกำหนดประเภทและระบบความปลอดภัยชองอาคารที่ใข้เพื่อประกอบกิจการ เป็นสถานบริการ พ.ศ. ๒๕๕๕

๒. การสอบปฏิบัติ
ผู้ที่สอบผ่านข้อเขียนภาคความรู้ความสามารถทั่วไป และภาคความรู้ความสามารถที่ไข้เฉพาะ ตำแหน่งจะต้องเข้ารับการทดสอบการปฏิบัติงานเพื่อเตรียมความพร้อมทางร่างกาย ซึ่งจะต้องทดสอบผ่านทุกข้อ จึงจะถือว่า “ผ่าน” ดังนี้
๒.๑ วิ่ง ระยะทาง ๑,๐๐๐ เมตร
เกณฑ์การหดสอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน ๖ นาที ถือว่า “ผ่าน” และมีสิทธิเข้าทดสอบในข้อ ๒,๒
๒.๒ ว่ายนา ระยะทาง ๔๐ เมตร
เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่พำเวลาไม่เกิน ๑ นาที ๓๐ วินาที โดยไม่สาวลู่ ถือว่า “ผ่าน” และมีสิทธิเข้าทดสอบในข้อ ๒.๓
๒.๓ ทดสอบความพร้อมในการปฏิบัติงานด้วยท่าต่าง ๆ จำนวน ๔ ท่า เกณฑ์การทดสอบ จะต้องทดสอบผ่านทุกห่าจึงจะถือว่า “ผ่าน” ดังนี้ (๑) ดึงข้อ
การปฏิบัติ ะ ผู้เข้ารับการทดสอบจับราวเดี่ยวด้วยท่าจับควํ่ามือ มือห่างกันเท่าช่วงไหล่ ปล่อยตัวให้ตรงจนแขน ลำตัว และขาเหยียดตรง เท้าพ้นพื้น เมื่อได้ยินสัญญฺาณ “เริ่ม” ผู้เข้ารับการทดสอบออกแรง โดยงอแขนดึงตัวขึ้นให้คางพ้นหรือเสมอระดับราวแล้วปล่อยตัวลงให้ศีรษะตากว่าราว เท่ากับการนับ ๑ ครั้ง
เกณฑ์การทดสอบ
–    ผู้เข้าทดสอบเพศชายดึงข้อไต้ครบ ๔ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน” หากดึงข้อไม่ครบ ๕ ครั้ง และเท้าแตะพื้น ถือว่า “ไม,ผ่าน”
–    ผู้เข้าทดสอบเพศหญิงดึงข้อได้ครบ ๓ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน” หากดึงข้อไม่ครบ ๓ ครั้ง และเท้าแตะพื้น ถือว่า “ไม่ผ่าน”
(๒) ลุกนั่ง ภายในเวลา ๑ นาที
การปฏิบัติ ะ ผู้!.ข้ารับการทดสอบนอนหงาย เข่าทั้งสองงอเป็นมุมฉาก เท้าทั้งสองข้างห่างกัน พอประมาณ ฝ่ามือทั้งสองประสานกันที่ท้ายทอย ผู้ช่วยคุกเข่าอยู่บนปลายเท้าของผู้รับการทดสอบ โดยเอามือ ทั้งสองข้างกดข้อเท้าของผู้เข้ารับการทดสอบไว้ ให้ส้นเท้าติดพื้น เมื่อได้ยินสัญญาณ “เริ่ม” ให้ผู้เข้ารับการทดสอบ ลุกขึ้นนั่ง ให้ศอกทั้งสองข้างแตะปลายเข่าแล้วกลับลงไปนอนราบนับเป็น ๑ ครั้ง ขณะปฏิบัตินิ้วมือประสาน ที่ท้ายทอยตลอดเวลา
เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำได้ ๒๐ ครั้งถือว่า “ผ่าน”
(๓) แบกตุ๊กตานํ้าหนัก ๕0 กิโลกรัม
การปฏิบัติ ะ ผู้เข้ารับการทดสอบแบกตุ๊กตา ขึ้นและลงบันไดดับเพลิงความสูง ๒ เมตร เกณฑ์การทดสอบ ผู้ที่ทำเวลาไม่เกิน ๔๔ วินาที ถือว่า “ผ่าน”

(๔) ดันพื้น ภายในเวลา ๑ นาที
การปฏิบัติ ะ ผู้เข้ารับการหดสอบนคบความือfYนพื้น แขนทั้งสองเหยียดตรงห่างกัน พอประมาณ ลำตัวเหยียดตรงปลายเท้าจรดพื้น ยุบแขนทั้งสองข้างลงพรัอมกันให้บริเวณหน้าอกห่างจากพื้น ๑๕ เซนติเมตร แล้วดันลำตัวขึ้น แขนทั้งสองเหยียดตรง ห้ามทำตัวแอ่น หรือเอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง หรือแขน ทั้งสองขางขึ้นไม่พร้อมกัน เท่ากับการนับ ๑ ครั้ง
เกณฑ์การหดสอบ ผู้ที่ทำได้ ๒๐ ครั้ง ถือว่า “ผ่าน”
ทั้งนี้ การทดสอบการปฏิบัติงานเพื่อเตรียมความพร้อมทางร่างกาย จะไม่มีการกำหนดคะแนนและ ใช้เกณฑ์การตัดสิน “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ผู้สอบผ่านการทดสอบการปฏิบัติงานเพื่อเตรียมความพร้อมทางร่างกาย จึงจะมีสิทธิเข้าสอบในภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป


นิติกรปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายพื้นฐาน
–    ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
–    ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
–    ประมวลกฎหมายอาญา
–    ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
๒. ความรู้ความเข้าใจอย่างดียิ่งในเนี้อหาของกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงในการปฏิป้ตราชการของ กรุงเทพมหานคร
–    พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘
–    พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔
–    พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
–    พระราขบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
–    พระราขบัญญัติวิธีปฏิบัติราชิการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
–    พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
–    พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตชองทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
–    พระราขบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
–    พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒


นักทรัพยากรปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ความรู้ทางวิชาการในการปฏิบ้ตงานเกี่ยวกับการพัฒนาระบบราชการ การบริหารทรัพยากรบุคคล หรือการพัฒนาทรพยากรบุคคล ได้แก่
–    การจัดและปรับปรุงโครงสร้างและอัตรากำลังขององค์กร
–    การพัฒนาระบบราชการและการพัฒุนาระบบงาน
–    การวางแผนกำลังคน
–    การกำหนดตำแหน่ง มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ระบบการจำแนกตำแหน่ง
–    การวิเคราะห์งานและการประเมินคุณภาพงานของตำแหน่ง
–    การให้Iต้รับเงินเดือน ค่าจ้าง เงินประจำตำแหน่ง และเงินอื่น ๆ

’ หลักการและแนวทางในการสรรหาและเสือกสรรบุคคล
–    การบรรจุและแต่งตั้ง
–    การฟิกอบรม การพัฒนาบุคคล เครื่องมือการพัฒนาทรัพยากรบุคคลและองค์กร สมรรถนะของคน ในศตวรรษที่ ๒๑ นวัตกรรมเพื่อการพัฒนา องค์กรแห่งการเรียนรู้ องค์กรแห่งความสุข และ การพัฒนาทักษะดิจิทัลของข้าราชการ
–    การเสริมสร้างแรงลูงใจในการปฏีบตราชการ
–    สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูล เช่น การลา การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การขอพระราชทานเพลิงศพ การไต้รับบำเหน็จบำนาญ เป็นต้น
–    การเสริมสร้างวินัยและจรรยาบรรณขาราชการกรุงเทพมหานคร
–    การดำเนินการทางวินัย ระบบพิทักษ์คุณธรรม
–    การออกจากราชการ
–    การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management)
–    การพัฒนาองค์กร
–    การวิเคราะห์ขอมูลเซิงสถิติเบื้องต้น
–    การประสานงานและการสร้างเครือข่าย
–    การวางแผนเส้นทางความก้าวหนัาในอาชีพ
–    แผนยุทธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๖๑ T ๒๕๖๕
–    พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๔
–    พระราชบัญญัติบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการปฏิบัติงานด้านประขาสัมพันธ์ ดังต่อไปนี้
๑.๑ การติดต่อสื่อสาร การสำรวจรวบรวม รับพิงความคิดเห็นของ่ประขาขนและลื่อมวลชน
๑.๒ การจัดทำแผนและยุทธศาสตร์การประขาสัมพันธ์ตามนโยบายของหน่วยงาน
๑.๓ การประชาสัมพันธ์ตามโครงการและภารกิจความรับผิดขอบของหน่วยงาน
๑.๔ การดำเนินการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเขียนข่าว การเผยแพร่ข่าว การแถลงข่าว การจัดสัมมนา การจัดประขาสัมพันธ์เคลื่อนที่ การจัดนิทรรศการ เป็นด้น
๑.๕ การประสาน ติดตาม รวบรวมข้อมูลเพื่อการผลิตข่าวสาร
๑.๖ เทคนิคการกระจายสื่อไปสู่กลุ่มเป้าหมาย การกำหนดหรือการเสือกสื่อประขาสัมพันธ์
๑.๗ เทคนิคการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์รูปแบบต่าง ๆ เข่น Infographic คลิปประชาสัมพันธ์
๑.๘ เทคนิคการถ่ายภาพและคัดเลือกภาพเพื่อการประขาสัมพันธ์
๑.๙ เทคนิคการผลิตรายการ ผลิตบทความเพื่อเผยแพร่ การประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้าง ภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร
๑.๑๐ เทคนิคและวิธีการประชาสัมพันธ์ในที่สาธารณะ การพูดในที่สาธารณะ เช่น การเป็นพิธีกร การพูดเพื่อการประขาสัมพันธ์ การโน้มน้าว
๑.๑๑ ความรู้เกี่ยวกับข่อ่งทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและสื่อประขาสัมพันธ์ทั้ง online และ offline
๑.๑๒ การวิเคราะห์ข่าว เพื่อนำเสนอหรือ่เพื่อพิจารณา การชี้แจงข่าว การติดตามประเมินผล การประชาสัมพันธ์ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
๑.๑๓ การใช้เทคนิคในการประชาสัมพันธ์เชิงรุก การประชาสัมพันธ์ในยุคดิจิท้ล (Digital)
๑.๑๔ การจัดกิจกรรมมวลชนสัมพันธ์
๑.๑๕ การจัดกิจกรรมสื่อมวลชนสัมพันธ์
๒. กฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ ได้แก่
๒.๑พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการพ.ศ.๒๕๔๐
๒.๒ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และ
ที่แกัใขเพิ่มเดิม
๒.๓ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๔ พระราชบัญญัติลิขสิทธึ่ พ.ศ. ๒๕๓๗
๒.๕ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๗๕)


นักวิเคราะหืนโยบายและแผนปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรุงเทพมหานคร
–    สถานการณ์ทั่วไปของกรุงเทพมหานคร ([นปัจจุบัน)
–    บริบทการพัฒนาของกรุงเทพมหานคร ประเทศไทย และภูมิภาคอาเซียน ในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อม
–    วิสัยทัศน์การพัฒนากรุงเทพมหานคร
–    แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๗๕)
–    นโยบายผู้บริหารกรุงเทพมหานคร
๒. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายและแผน
–    การวิเคราะห์นโยบายภาครัฐ และนโยบายสาธารณะ
–    การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA
–    การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT) ขององค์กํร
–    การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ และแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
–    การกำหนดตัวชี้วัดระดับประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และโครงการ
–    การกำหนดแผนงาน โครงการ และกิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบาย และแนวทางการพัฒนาองค์กร
–    การนำนโยบายและแผนๆ ไปสู่การปฏิบัติ
–    การติดตามประเมินผลนโยบาย แผนทุกระดับ โครงการ และกิจกรรม
–    การจัดทำรายงานผลการดำเนินการ และการนำเสนอรายงาน
๓. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์วิจัย
–    ระเบียบวิธีวิจัย และสถิติเบื้องต้น
–    หลักการและกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง
–    การวิเคราะห์(ครงการ    1—
–    การบริหารจัดการงบประมาณ

๔. ความรู้ความเช้าใจเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
–    พระราชบัญญ้ติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๒๘ และฉบับแก้ใขปรับปรุง
–    พระราชบัญญติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
–    พระราชบัญญ้ติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แกั1ขเพิ่มเดิม
–    พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบัานเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
–    รัฐธรรมมูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
–    ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)
–    แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)
–    พระราชบัญญ้ติยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐
๕    . ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะในการทำงาน
–    ภาพลักษณ์องค์กร
–    หลักการและเทคนิคการคิดอย่างเป็นระบบ
–    มนษยสัมพันธ์ การประสานงาน การมีส่วนร่วม
–    การสื่อสาร การประชาสัมพันธ์
–    การใช้เทคโนโลยีดิจิท้ลุในการจัดการข้อมูล
–    การถ่ายทอดความรู้ และการให้คำปรึกษา


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยใช้วิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. การปฏิบัติตามกฎหมาย กรอบธรรมาภิบาล (Governance Framework) และหลักปฏิบัติ (Principles) ที่ดีด้านดิจิทัล เพื่อการปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล
๒. การวิเคราะห์ ออกแบบ การพัฒนา การดูแล การบำรุงรักษา และการรักษาความปลอดภัยของ
–    ระบบการบริหารจัดการฐานข้อมูล (Database Management Systems)
–    ระบบปฏิบัติการ (Operating System)
–    ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
– ระบบ Mobile Application
สอดคล้องตามมาตรฐานสากล หรือแนวทางการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ตามมาตรฐานสากล
๓. หลักการออกแบบเทคโนโลยี Cloud Computing
๔. การนำเทคโนโลยีดิจิทัล มาใช้!นการบริหารจัดการและให้บริการประชาชน
๕. การบริหารจัดการฃ้อ่มูลขนาดใหญ่ (Big data) และการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Data Analytics)
๖. หลักการของข้อมูลเปิด (Open Data) กับการพัฒนาระบบบ


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถ ดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ
๑.๑ หลักวิชาการเงิน ภาษีอากร การรับเงิน การจ่ายเงิน
๑.๒ หลักการบัญชี การจัดทำงบการเงิน งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร หลักการบัญชีคู่ ตรวจสอบบัญชีการเงินเบื้องด้น
๑.๓ หลักวิชาการงบประมาณ การวิเคราะห์งบประมาณ และการบริหารงบประมาณ
๑.๔ หลักวิชาการพัสดุและทรัพย์สิน
๒. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการปฏิบัติงาน
๒.๑ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศฺ. ๒๕๒๘ แก้Iขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๔ แก้!ขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๙ แก้Iขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้!ขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๕๐
๒.๒ พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๒.๓ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ และกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง
๒.๔ ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง วิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓
๒.๕ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการกำหนดประเภทรายรับ – รายจ่าย และการปฏึบ้ติ เกี่ยวกับงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๓ แก้ไขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๖ และแก้!ข เพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๐

๒.๖ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน การนำส่งเงินและการตรวจเงิน พ.ศ. ๒๕๕๕ และแก(ขเพิ่มเดิม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ, ๒๕๖๐
๒.๗ พระราชบัญญ้ตฃ้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
๒.๘ พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘
๒.๙ พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคฺลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
๒.๑๐ แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ ๒๐ ปี


นักวิชาการสุขาภิบาลปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเซียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. การสุขาภิบาลอาหาร และความปลอดภัยของอาหาร รวมถึงการตรวจวิเคราะห์และการแปลผล การตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารเบื้องต้น
๒. การสุขาภิบาลโรงงาน การอาซีวอนามัยและความปลอดภัย
๓. การตรวจสอบควบคุมเหตุรำคาญ การควบคุมปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม เช่น การจัดการนํ้าเสีย การจัดการคุณภาพอากาศและเสียง การจัดการมูลฝอย ของเสียอันตรายและสิ่งปฏิกูล มลพิษจากสารเคมีและวัตถุอันตราย รวมถึงการตรวจ การวิเคราะห์ และการแปลผลการตรวจ วิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม
๔. การควบคุมสัตว์และแมลงนำโรค และการควบคุมปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดโรค
๕. ปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง ได้แก่ คุณภาพอากาศในอาคาร และการสุขาภิบาลในอาคาร-สาธารณะ เป็นต้น
๖. การอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะฉุกเฉินในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น การเกิดสาธารณภัย สารเคมีรั่วไหล การเกิดโรคระบาด เป็นต้น
๗. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎุหฺมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
– กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข
– กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับวิธีการตรวจวัด และมาตรฐานทางสิ่งแวดล้อม)
– กฎหมายว่าด้วยโรงงาน
– กฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ
๘. การประเมินความเสี่ยงและผลกระทบทางด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมต่อสุขภาพอนามัย


นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ

. ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้โดยใจ้วิธีการสอบจ้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ ข่าวสาร การเปลี่ยนแปลงของกระแสสังคมที่เกี่ยวจ้องกับการจัดสวัสดิการ-สังคม งานสังคมสงเคราะห์ และการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เข่น สังคมของผู้สูงอายุ เครือข่ายสังคม ออนไลน์ การตั้งครรภไม่พร้อม ความรุนแรงในเด็กและเยาวชนเพิ่มมากขึ้นในชุมชนและโรงเรียน สังคมคนเร่ร่อน ขอทาน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ความเหลื่อมลํ้าทางสังคม การไม่เลือกปฏิบัติ ความอคติทางเพศ การเสริมพลัง (Empowerment) การทำงานในสถานการณ์โรคอุบัติใหม่ การบ้องกันและแกไขปัญหฺายาเสพติด ภารกิจและ บทบาทหน้าที่นักสังคมสงเคราะห์สังกัดกรุงเทพมหานคร เป็นต้น
๒. ความรู้เกี่ยวกับนโยบายสังคมที่เกี่ยวข้องกับงานสังคมสงเคราะห์และพิทักษ์สิทธิผู้รับบริการ เช่น เบี้ยยังซีพผู้สูงอายุ เบี้ยความพิการ สิทธิผู้ป่วย ความเสมอภาคในการเข้าถึงบริการของรัฐ ได้แก่
๒.๑ ความรู้เรื่องกองทุนตามพระราชบัญญัติต่าง ๆ ความรู้เรื่องใบประกอบวิชาชีพสภาวิชาชีพ ตามพระราชบัญญัติสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๕๖
๒.๒ เงินอุดหนุนช่วยเหลือเด็กแรกเกิด

๓. ความรู้เกี่ยวกับการสังคมสงเคราะห์ในระดับจุลภาค มหภาค จรรยาบรรณ และมาตรฐานวิชาชีพ มีความรู้ในการจัดการรายกรณี (Case Manager)
๔. ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือในการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์แก่ผู้รับบริการทุกกลุ่มเป้าหมาย การประสานงาน เครือข่ายการช่วยเหลือสังคม และการทำงานในเซิงสหวิชาชีพ
๕. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวช้องกับการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ ได้แก่
–    พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติใหั!ช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๖๔ พระราชบัญญัติวิธีพิจารณา คดียาเสพติด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๔
–    พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
–    พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ ฟ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ใขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ใขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญ้ติคุมครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. ๒๕๕๐
–    พระราชบัญญัติคุมครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. ๒๕๕๗
–    พระราชบัญญัติวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. ๒๕๕๖
–    พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. ๒๕๕๙
–    พระราชบัญญัติป้องกันและแก้ใขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๕๙
–    พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการด้ามบุษย้ พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้1ขเพิ่มเดิม
–    พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเดิมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๖๒
–    พระราชบัญญัติหอพัก พ.ศ. ๒๕๕๘
–    พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้!ขเพิ่มเดิม
– พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาดิ พ.ศ. ๒๕๔๕


วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธฺการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐0 คะแนน)
การวางแผน การออกแบบและคำนวณด้านวิศวกรรมเครื่องกล การประเมินค่าของงาน การติดตั้งทดลอง ดูแลบำรุงรักษาเกี่ยวกับงานด้านวิศวกรรมเครื่องกล งานวิจัย พัฒนาและปรับปรุงงานวิศวกรรมเครื่องกล การจัดทำ ข้อกำหนด รายละเอียดชองพัสดุ อุปกรณ์ สำหรับจัดหามาใซ้งาน การจัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น สถิติ การจัดทำ ฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมเครื่องกล การให้คำปรึกษาแนะน์าที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ กับผู้รับบริการ หรือประชาชนทั่วไป ควบคุมการสรัาง การผลิตงานด้านวิศวกรรมเครื่องกล พัฒนาระบบติดตั้ง ระบบซ่อมบำรุงด้านวิศวกรรมเครื่องกล มีความรู้วศวกรรมการจัดฺการด้านเครื่องกล พลังงาน พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒ และพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นต้น


วิศวกรไฟฟ้าปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเซียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
การวางแผน การออกแบบและคำนวณอุปกรณ์ไฟฟ้า การควบคุมการสร้าง การติดตั้งและบำรุงรักษา ระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสาร ระบบป้องกันฟ้าผ่า ระบบสัญญาณเดือนอัคคีภัย งานด้านเครื่องมือวัดอุปกรณ์ไฟฟ้า งานด้านแมคคาทรอนิก งานด้านอิเล็กทรอนิกส์ งานด้านสื่อสฺารและเทคโนโลยี งานด้านพลังงานทดแทน งานด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง การกำหนดรูปแบบรายการเพื่อการสร้าง การผลิต การควบคุม การติดตั้ง และการประมาณราคา การตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนางานวิศวกรรมไฟฟ้า การจัดทำรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะเกี่ยวกับงานวิศวกรรมไฟฟ้า การจัดเก็บข้อมูล สถิติ หรือการจัดทำ ฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมไฟฟ้า การให้คำปรึกษาแนะนำที่เกี่ยวข้องกับงานในหน้าที่ แก่หน่วยงานราชการ เอกขน หรือประชาขนทั่วไป จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม


วิศวกรโยธาปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๖๐๐ คะแนน)
๑. การออกแบบและคำนวณด้านวิศวกรรมโยธา
๒. การศึกษาและวางแผนโครงการก่อสร้าง
๓. งานสำรวจเพื่อการก่อสร้าง
๔. การทดสอบ วิเคราะห์ วิจัย วัสดุทางวิศวกรรม
๕. การประมาณราคาก่อสร้าง
๖. การควบคุมงานก่อสร้าง งานบำรุงรักษา และบูรณซ่อมแซม
๗. งานด้านผังเมืองและโครงสร้างพื้นฐาน
๘. งานด้านจราจรและขนล่ง
๙. งานด้านสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรรมโยธา
๑๐. งานด้านกฎหมายควบคุมอาคาร กฎหมายผังเมือง และกฎหมายสิ่งแวดล้อม
๑๑. การวางแผนป้องกันและแล้Iขปัญหานํ้าท่วม นํ้าแล้ง และการบำรุงรักษาแหล่งนํ้า
๑๒. การให้คำปรึกษา แนะนำ หรืองานตรวจสอบที่เกี่ยวกับงานในสาขาวิศวกรรมโยธา โครงสร้างพื้นฐาน ให้แก่หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชนทั่วไป


วิศวกรสุขาภิบาลปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านวิศวกรรมสุขาภิบาล และวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม การออกแบบ และคำนวณในเรื่องระบบบำบัดนํ้าเสีย และระบบรวบรวมนี้าเสีย การควบคุมและประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อมด้านคุณภาพนํ้า รวมทั้งการควบคุมปัญหามลพิษในระหว่างการก่อสร้างให้เป็นตามที่กฎหมาย กำหนด ความรู้เกี่ยวกับการจัดการคุณภาพนี้าของกรุงเทพมหานคร
๒. ความรู้ความเข้าใจในการควบคุม ดูแล บำรุงรักษา ตรวจสอบ และประเมินผลการทำงานชอง ระบบบำบัดนํ้าเสีย และระบบรวบรวมนํ้าเสียให้เป็นไปโดยถูกต้อง ตามรูปแบบและหลักเกณฑ์วิชาชีพ วิศวกรรมสุขาภิบาล วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และตามที่กฎหมายกำหนด เพื่อให้การเดินระบบเป็นไปอย่าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล งานมีคุณภาพและมาตรฐานที่ดี


สถาปนิคปฏิบัติการ

ทดสอบความรู้ความสามารถดังต่อไปนี้ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
๑. การออกแบบสถาปัตยกรรมหลักและงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง การจัดพื้นที่ประโยขนํใช้สอยภายใน อาคาร การปรับปรุงช่อมแชม และดัดแปลงอาคารให้สอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน โดยไม่ชัดกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
๒. การออกแบบวางผังเมือง การพัฒนาเมืองและการออกแบบชุมชนเมือง โดยการมีส่วนร่วมของ ประชาชน และสอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
๓. เทคโนโลยีการก่อสร้าง การเลือกใช้วัสดุ การประมาณราคาเบื้องต้นให้สอดคล้องกับความต้องการ ชองผู้ใช้อาคาร โดยพิจารณาถึงความเหมาะสม คุ้มค่า ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔. การควบคุมงานก่อสร้างอาคาร การปรับปรุงซ่อมแชมและดัดแปลงอาคาร เพื่อให้เป็นไปตามรูปแบบ และรายการที่กำหนด โดยอยู่ในงบประมาณที่ได้รับ และคำนึงถึงหลักวิศวกรรม ความมั่นคงแข็งแรง
ของอาคาร
๕. การออกแบบสถาปัตยกรรมและตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบสถาปัตยกรรมหลักเบื้องต้น ให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
๖. ความรู้ด้านการจัดทำแบบก่อสร้างตามมาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง รวมถึงความรู้ด้านเทคโนโลยี เกี่ยวกับแบบก่อสร้าง และการนำเสนอผลงานให้มีความเข้าใจง่าย สมบุรณ์ ถูกต้อง

วิธีการสมัครงานข้าราชการ กทม. ครั้งที่ 1/2564  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 27 ธ.ค. – 11 ม.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดไฟล์ “กทม. ครั้งที่ 1/2564

แผนที่ ประกาศ 1 | เว็บรับสมัคร |

Facebook Comments