“กรมอนามัย “
ลิงค์: https://ehenx.com/16848/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิชาการสาธารณสุข(ด้านส่งเสริมสุขภาพ),นักวิชาการสาธารณสุข(ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม),นักวิชาการตรวจสอบภายใน,นักวิชาการช่างศิลป์,นักวิชาการคอมพิวเตอร์
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 18,000-19,500
อัตราว่าง: 10
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 12 พ.ค. – 24 พ.ค. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กรมอนามัย เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕
ด้วยกรมอนามัย มีความประสงค์จะรับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการ สรรหาและเลือกสรรพนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงาน และการจัดกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แกํไขเพิ่มเดิม และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ เกี่ยวกับการกำหนดคุณสมบัติสำหรับผู้ที่จะได้รับการว่าจ้างเป็น พนักงานราชการ จึงประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๕ จำนวน ๕ ตำแหน่ง โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
นักวิชาการสาธารณสุข (ด้านส่งเสริมสุขภาพ)
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการสาธารณสุข (ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม)
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการตรวจสอบภายใน
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการช่างศิลป์
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการคอมพิวเตอร์
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 19500- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
นักวิชาการสาธารณสุข (ด้านส่งเสริมสุขภาพ)
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใด สาขาวิชาหนึ่ง ทางจิตวิทยา สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาแพทยศาสตร์ สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
นักวิชาการสาธารณสุข (ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม)
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ หรือสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม หรือทางวิศวกรรมสุขาภิบาล
นักวิชาการตรวจสอบภายใน
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ ทางการบัญชี หรือทางการเงินและการธนาคาร สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ หรือสาขาวิชา การเงินและการธนาคาร
นักวิชาการช่างศิลป์
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไต้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิจิตรศิลป์ และประยุกต์ศิลป์ หรือสาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์ ทางสถาปัตยกรรมภายใน
นักวิชาการคอมพิวเตอร์
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางคอมพิวเตอร์
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
นักวิชาการสาธารณสุข (ด้านส่งเสริมสุขภาพ)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย สำรวจ รวบรวม ข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้นไม่ซับช้อน เกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุข เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ็าระวังโรค การควบคุมป้องกันโรคและภัย สุขภาพ การฟืนฟูสุขภาพ รวมทั้ง การดูแลรักษาพยาบาล การจัดบริการสุขภาพ การสุขศึกษาและ พฤติกรรมสุขภาพ การสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดล้อม พัฒนาระบบกลไกและการบังคับใช้กฎหมาย สาธารณสุข เพื่อช่วยในการเสริมสร้างระบบการสาธารณสุขที่ดี
(๒) สรุปรายงานเกี่ยวกับการดำเนินงาน หรือรายงานการรวบรวมข้อมูลทางวิชาการ ด้านสาธารณสุข เสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อประกอบการวางแผนในการปฏิบัติงาน
(๓) ติดตามผลการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยงานด้านสาธารณสุข เพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงาน ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ
(๔) ร่วมพัฒนาเนื้อหา องค์ความรู้ คุณภาพมาตรฐานเกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุข และระบบ บริการสุขภาพ โดยบูรณาการแบบองค์รวมว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญา เกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุข และระบบบริการสุขภาพ และจัดทำคู่มือ แนวทางปฏิบัติ เอกสารวิชาการ สื่อสุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ สามารถป้องกันตนเองจากโรคและภัยสุขภาพ
(๕) ปฏิบัติการในการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยสิ่งแวดล้อม การควบคุมป้องกันโรคและภัย สุขภาพ การเฝัาระวังโรค รักษาเบื้องต้น และติดตามฟืนฟูสุขภาพในชุมชน ดูแลบำรุงรักษาเครื่องมือและ อุปกรณ์ ที่พร้อมใช้งาน เพื่อพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง
(๖) ช่วยจัดทำฐานข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวช้องกับงานด้านสาธารณสุข เช่น ข้อมูลของผู้ป่วย กลุ่มเลี่ยง บุคลากรทางด้านบริการสุขภาพ ประชากร สถานะสุขภาพ ระบาดวิทยา สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ สถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน องค์กรภาคีเครือข่าย เพื่อนำมาใช้ในการวิเคราะห์ ในการปรับปรุง ระบบงานสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
(๗) ให้บริการคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย รักษาเบื้องต้น สอบสวนสืบสวนโรค ติดตามผู้ป่วย ผู้สัมผัส เพื่อการเฝ็าระวัง ควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้งล่งเสริมสุขภาพ และฟืนฟูสุขภาพ เพื่อให้ประชาชน มีสุขภาพที่ดี
(๘) ร่วมประเมินสิ่งแวดล้อมการทำงาน ประเมินสถานประกอบการ สถานบริการสาธารณะ สถานที่สาธารณะทางด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
(๙) ช่วยปฏิบัติงานส่งเสริม ควบคุม กำกับมาตรฐาน การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการแพทย์ และสาธารณสุข และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
(๑๐) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓) ต้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธื้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ไต้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
(๑) ตรวจสอบสภาพของเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆให้มีคุณภาพและเหมาะแก่การนำไปใช้งาน อยู่เสมอรวมทั้งสนับสนุนงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางสาธารณสุข เพื่อให้บริการดังกล่าวเป็นไป อย่างราบรื่น
(๒) สนับสนุนการถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการหรือเทคโนโลยี แก่บุคคลภายในหน่วยงาน เพื่อเป็นความรู้และให้สามารถดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ
(๓) ให้บริการทางวิชาการ เช่น การจัดทำเอกสาร ตำรา คู่มือ เอกสารสื่อ เผยแพร่ในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ความเข้าใจในระดับต่างๆ ในงานด้านสาธารณสุข
(๔) ร่วมปฏิบัติการในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร และองค์กร เพื่อให้เป็นบุคลากรที่มี ความชำนาญ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) นิเทศงานด้านสาธารณสุข เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและมี ประสิทธิภาพ
นักวิชาการสาธารณสุข (ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม)
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุข ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย สำรวจ รวบรวม ข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้นไม,ซับช้อน เกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุข เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การเฝัาระวังโรค การควบคุมป้องกันโรคและภัย สุขภาพ การฟินฟูสุขภาพ รวมทั้ง การดูแลรักษาพยาบาล การจัดบริการสุขภาพ การสุขศึกษาและ พฤติกรรมสุขภาพ การสุขาภิบาล อนามัยสิงแวดล้อม พัฒนาระบบกลไกและการบังคับใช้กฎหมาย สาธารณสุข เพื่อช่วยในการเสริมสร้างระบบการสาธารณสุขที่ดี
(๒) สรุปรายงานเกี่ยวกับการดำเนินงาน หรือรายงานการรวบรวมข้อมูลทางวิชาการ ด้านสาธารณสุข เสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อประกอบการวางแผนในการปฏิบัติงาน
(๓) ติดตามผลการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยงานด้านสาธารณสุข เพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงาน ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ
(๔) ร่วมพัฒนาเนื้อหา องค์ความรู้ คุณภาพมาตรฐานเกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุข และระบบ บริการสุขภาพ โดยบูรณาการแบบองค์รวมว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญา เกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุข และระบบบริการสุขภาพ และจัดทำคู่มือ แนวทางปฏิบัติ เอกสารวิชาการ สื่อสุขศึกษา ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชน มีความรู้ สามารถป้องกันตนเองจากโรคและภัยสุขภาพ
(๕) ปฏิบัติการในการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยสิ่งแวดล้อม การควบคุมป้องกันโรคและภัย สุขภาพ การเฝ็าระวังโรค รักษาเบื้องต้น และติดตามฟืนฟูสุขภาพในชุมชน ดูแลบำรุงรักษาเครื่องมือและ อุปกรณ์ ที่พร้อมใช้งาน เพื่อพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพและทั่วถึง
(๖) ช่วยจัดทำฐานข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวช้องกับงานด้านสาธารณสุข เช่น ข้อมูลของผู้ป่วย กลุ่มเลี่ยง บุคลากรทางด้านบริการสุขภาพ ประชากร สถานะสุขภาพ ระบาดวิทยา สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ สถานประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน องค์กรภาคีเครือข่าย เพื่อนำมาใช้ในการวิเคราะห์ ในการปรับปรุง ระบบงานสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
(๗) ให้บริการคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย รักษาเบื้องต้น สอบสวนสืบสวนโรค ติดตามผู้ป่วย ผู้สัมผัส เพื่อการเฝ็าระวัง ควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ รวมทั้งส่งเสริมสุขภาพ และฟินฟูสุขภาพ เพื่อให้ประชาชน มีสุขภาพที่ดี
(๘) ร่วมประเมินสิ่งแวดล้อมการทำงาน ประเมินสถานประกอบการ สถานบริการสาธารณะ สถานที่สาธารณะทางด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
(๙) ช่วยปฏิบัติงานล่งเสริม ควบคุม กำกับมาตรฐาน การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการแพทย์ และสาธารณสุข และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวช้อง เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
(๑๐) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ๋ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสิมฤทธิ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
(๑) ตรวจสอบสภาพของเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆให้มีคุณภาพและเหมาะแก่การนำไปใช้งาน อยู่เสมอรวมทั้งสนับสนุนงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางสาธารณสุข เพื่อให้บริการดังกล่าวเป็นไป อย่างราบรื่น
(๒) สนับสนุนการถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการหรือเทคโนโลยี แก่บุคคลภายในหน่วยงาน เพื่อเป็นความรู้และให้สามารถดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ
(๓) ให้บริการทางวิชาการ เช่น การจัดทำเอกสาร ตำรา คู่มือ เอกสารสื่อ เผยแพร่ในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ความเข้าใจในระดับต่างๆ ในงานด้านสาธารณสุข
(๔) ร่วมปฏิบัติการในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร และองค์กร เพื่อให้เป็นบุคลากรที่มี ความชำนาญ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) นิเทศงานด้านสาธารณสุข เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและมี ประสิทธิภาพ
นักวิชาการตรวจสอบภายใน
ปฏิบัติงานในฐานะ ผู้ปฏิบัติงานระดับดัน ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านตรวจสอบภายใน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวมและตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล ตัวเลข หลักฐาน การทำสัญญา และเอกสารต่างๆ ทางด้านการเงิน การบัญชี เพื่อให้การตรวจสอบดำเนินไปอย่างถูกต้อง และได้ผลตรงกับหลักฐานที่เกิดขึ้นจริง
(๒) ตรวจสอบการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารงบประมาณ การเงิน พัสดุและทรัพย์สินรวมทั้ง การบริหารด้านอื่นๆ ของส่วนราชการ เพื่อดูแลให้การใช้งบประมาณและทรัพยากรเป็นไปอย่างประหยัด มีประสิทธิภาพสูง และตรงตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
(๓) จัดทำรายงานการตรวจสอบรายเดือน เพื่อเสนอช้อตรวจพบและข้อเสนอแนะ
ให้ผู้บังคับบัญชาหรือหน่วยงานต้นสังกัดรับทราบผลการดำเนินงาน
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธี้ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและกายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมถุทธิ๕ตามที่กำหนด
(๒) ขึ้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ ได้รับมอบหมาย
๔) ต้านการบริการ
(๑) ฟิกอบรม ให้คำปรึกษา เสนอแนะวิธีการปรับปรุงการปฏิบัติงานแก่หน่วยรับตรวจและ เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา และตอบข้อชักถามและขี้แจงเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานในหน้าที่ พร้อมทั้งช่วย แก้ปัญหาข้อขัดแย้งในหน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อให้การปฏิบัติงานถูกต้องและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
(๒) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และขี้แจง เกี่ยวกับงานตรวจสอบภายในที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ
นักวิชาการช่างศิลป์
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการช่างศิลป้ ภายใต้การกำกับแนะนำตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ต้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวซ้องทางด้านศิลปกรรม เพื่อเป็นข้อมูลในการออกแบบ เขียนแบบ อนุรักษ์ สร้างสรรค์งานด้านศิลปกรรม และรวบรวมองค์ความรู้ในการจัดทำเอกสารทางวิชาการ
(๒) วิเคราะห์ออกแบบภูมิทัศน์ ให้มีความสวยงานปลอดภัยและสอดคล้องกับหลักวิชาการ
(๓) ออกแบบ เขียนแบบ อนุรักษ์สร้างสรรค์งานศิลปกรรม เพื่อการสืบทอด สร้างสรรค์ เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์
(๔) ร่วมจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจแก่ประชาชน และสืบทอด
(๕) ร่วมจัดนิทรรศการต้านศิลปกรรม เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนดศิลปวัฒนธรรม
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
ให้คำแนะนำความรู้ด้านศิลปกรรม แก่บุคคล หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเผยแพร่ความรู้
นักวิชาการคอมพิวเตอร์
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูประบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสบุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินไปได้อย,างมี ประสิทธิภาพและสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน
(๒) ประมวลผลและปรับปรุงแกไขแฟ้มข้อมูลเพื่อให้ข้อมูลที่ได้ลูกต้องแม่นยำและทันสมัย
(๓) ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความต้องการ และสภาพการใช้งานของหน่วยงาน
(๔) เขียนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์และระบบข้อมูลที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) เขียนชุดคำสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แก้ใขข้อผิดพลาดของคำสั่งเพื่อให้ ระบบปฏิบัติการทำงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
(๖) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์และระบบข้อมูล ของหน่วยงานที่ไมซับซ้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของหน่วยงาน
(๗) ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์เพื่อให้ได้ระบบงาน ประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงาน
(๘) รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์และระบบสารสนเทศการจัดการระบบการทำงานเครื่อง การติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อใหได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน
(๙) ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่าย ไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากลเพื่อความมั่นคง ปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ
(๑๐) ช่วยตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบการออกใบอนุญาต เพื่อให้การออก ใบอนุญาตเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
(๑๑) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
๒) ต้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานงานทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก,บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ไต้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
(๑) ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู,มือผู้ใข้เพื่อให้ผู้ใซัสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเอง อย่างมีประสิทธิภาพ
(๒) ดำเนินการฟิกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแกเจ้าหน้าที่ ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์
(๓) ให้คำปรึกษาแนะนำแก,ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแกไขและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิชาที่สอบ
นักวิชาการสาธารณสุข (ด้านส่งเสริมสุขภาพ)
ครั้งที่ ๑ การประเมินความรู้ความสามารถ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ
ส่วนที่ ๑ ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ข้อสอบเป็นปรนัย (๒๐ คะแนน)
– ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมอนามัย เช่น วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้าง หน้าที่และอำนาจ บทบาท ภารกิจ และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ส่วนที่ ๒ ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง ข้อสอบเป็นปรนัย ๗๐ คะแนน และอัตนัย ๑๐ คะแนน (๘๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับด้านการสาธารณสุข
๒. ความรู้เกี่ยวกับระบาดวิทยาและการควบคุมโรค
๓. ความรู้เกี่ยวกับการส่งเส่ริมสุขภาพพฤติกรรมศาสตร์ สุขศึกษา
๔. ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบัญญัติ การป้องกันและแกไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๔๙ พระราชบัญญัติควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. ๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเดิมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๘) พ.ศ. ๒๕๖๔ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ครั้งที่ ๒ การประเมินสมรรถนะ โดยวิธีการสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
เป็นการประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติ การทำงาน ประสบการณ์ อุปนิสัย ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
นักวิชาการสาธารณสุข (ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม)
ครั้งที่ ๑ การประเมินความรู้ความสามารถ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ
ส่วนที่ ๑ ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ข้อสอบเป็นปรนัย (๒๐ คะแนน)
– ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมอนามัย เช่น วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้าง หน้าที่และอำนาจ บทบาท ภารกิจ และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ส่วนที่ ๒ ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง ข้อสอบเป็นปรนัย (๘๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับด้านการสาธารณสุข อนามัยสิ่งแวดล้อม
๒. ความรู้เกี่ยวกับการสุขาภิบาล
๓. ความรู้เกี่ยวกับการจัดการเหตุรำคาญและกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
๔. ความรู้เกี่ยวกับระบาดวิทยาและการควบคุมโรค
๕. ความรู้เกี่ยวกับการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
๖. ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ พระราชบัญญัติ การป้องกันและแกิไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๔๙ พระราชบัญญัติควบคุมการล่งเสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. ๒๕๖๐ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ครั้งที่ ๒ การประเมินสมรรถนะ โดยวิธีการสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
เป็นการประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติ การทำงาน ประสบการณ์ อุปนิสัย ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
นักวิชาการตรวจสอบภายใน
ครั้งที่ ๑ การประเมินความรู้ความสามารถ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ
ส่วนที่ ๑ ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ข้อสอบเป็นปรนัย (๒๐ คะแนน)
– ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมอนามัย เช่น วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้าง หน้าที่และอำนาจ บทบาท ภารกิจ และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ส่วนที่ ๒ ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง ข้อสอบเป็นปรนัย (๘๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
๒. ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไชเพิ่มเดิม ฉบับที่ ๒
๓. ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
๔. ความร้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ ปฏิบัติการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๔ หลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วย มาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒ และหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการตรวจสอบภายในสำหรับหน่วยงาน ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
๕. ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับหน่วยงาน ของรัฐ และหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเลี่ยง สำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๒
๖. ความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
๗. การบริหารงบประมาณ ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ และระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ครั้งที่ ๒ การประเมินสมรรถนะ โดยวิธีการสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
เป็นการประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติ การทำงาน ประสบการณ์ อุปนิสัย ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน การยึดมั่นในความลูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
นักวิชาการช่างศิลป์
ครั้งที่ ๑ การประเมินความรู้ความสามารถ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ
ส่วนที่ ๑ ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ข้อสอบเป็นปรนัย (๒๐ คะแนน)
– ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมอนามัย เช่น วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้าง หน้าที่และอำนาจ บทบาท ภารกิจ และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ส่วนที่ ๒ ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง ข้อสอบเป็นปรนัย ๖๐ คะแนน และอัตนัย ๒๐ คะแนน (๘๐ คะแนน)
ด. ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกในการออกแบบช่างศิลป็
๒. ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อประชาสัมพันธ์
๓. ความรู้เกี่ยวกับศิลปะองค์ประกอบศิลป็
๔. ความรู้เกี่ยวกับงานออกแบบด้านนิทรรศการ
ครั้งที่ ๒ การประเมินสมรรถนะ โดยวิธีการสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
เป็นการประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติ การทำงาน ประสบการณ์ อุปนิสัย ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
นักวิชาการคอมพิวเตอร์
ครั้งที่ ๑ การประเมินความรู้ความสามารถ โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ
ส่วนที่ ๑ ภาคความรู้ความสามารถทั่วไป ข้อสอบเป็นปรนัย (๒๐ คะแนน)
– ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมอนามัย เช่น วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้าง หน้าที่และอำนาจ บทบาท ภารกิจ และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบัน
ส่วนที่ ๒ ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตำแหน่ง ข้อสอบเป็นปรนัย ๔๐ คะแนน และอัตนัย ๔๐ คะแนน (๘๐ คะแนน)
๑. ความรู้เกี่ยวกับการจัดการข้อมูล การเขียนโปรแกรม ชุดคำสั่งระบบ คอมพิวเตอร์ ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการและชุดคำสั่งสำเร็จรูป
๒. ความรู้เกี่ยวกับการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
๓. ความรู้เกี่ยวกับระบบการบริหารจัดการ การบริหารความปลอดภัยและ บริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
๔. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิด เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ และระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติ ราชการที่เกี่ยวข้อง
ครั้งที่ ๒ การประเมินสมรรถนะ
– โดยวิธีการสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
เป็นการประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติ การทำงาน ประสบการณ์ อุปนิสัย ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน การยึดมั่นในความลูกต้องชอบธรรม และจริยธรรม เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่นๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
– โดยวิธีการทดสอบการปฏิบัติงาน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
เป็นการทดสอบการเขียนชุดคำสั่งทางระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อประเมินคุณลักษณะ ที่จำเป็น ตามความเหมาะสมกับตำแหน่ง
วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมอนามัย :สมัครทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 12 พ.ค. – 24 พ.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กรมอนามัย
แผนที่ file 1 | เว็บรับสมัคร