กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ลิงค์: https://ehenx.com/17228/ หรือ
ตำแหน่ง: พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย,พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(ERT),พนักงานขับและควบคุมเครื่องจักรกลขนาดหนัก,พนักงานขับและควบคุมเครื่องจักรกลขนาดเบา,พนักงานปฏิบัติการด้านสาธารณภัย
ระดับการศึกษา: ม.ต้น,ม.ปลาย,ปวช.ทุกสาขา,ปวช.,ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 10,430-18,000
อัตราว่าง: 46
ปฏิบัติงานที่: ,กรุงเทพมหานคร,จันทบุรี,ชัยภูมิ,ชลบุรี,เชียงราย,ตราด,น่าน,บึงกาฬ,ประจวบคีรีขันธ์,ปทุมธานี,พิจิตร,พิษณุโลก,เพชรบูรณ์,ภูเก็ต,แม่ฮ่องสอน,ระยอง,สกลนคร,สมุทรสาคร,สมุทรปราการ,สมุทรสงคราม,สระแก้ว,สระบุรี,สุพรรณบุรี,สุราษฎร์ธานี,อุดรธานี,อุบลราชธานี
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 11 ก.ค. – 25 ก.ค. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เปิดรับสมัคร

ประกาศกรมป้องกันแสะบรรเทาสาฮารณภัย

เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป

ด้วยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประสงค์จะรับสมัครบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงาน ราชการประเภททั่วไป ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหาและการเลือกสรรพนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ และประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนด ลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงาน และการจัดกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๘ คุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ และที่แก้ไชเพิ่มเดิม จีงประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงาน ราชการทั่วไป โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

อัตราว่าง : 24 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ERT)

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


พนักงานขับและควบคุมเครื่องจักรกลขนาดหนัก

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11280-13800 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


พนักงานขับและควบคุมเครื่องจักรกลขนาดเบา

อัตราว่าง : 9 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11280-13800 บาท

คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.


พนักงานปฏิบัติการด้านสาธารณภัย

อัตราว่าง : 9 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 10430-13800 บาท

คุณวุฒิ : ม.ต้น,ม.ปลาย,ปวช.ทุกสาขา*,ปวส.ทุกสาขา*

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ERT)

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไต้ในระดับเคียวกันในทุกสาขาวิชา


พนักงานขับและควบคุมเครื่องจักรกลขนาดหนัก

๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับลักษณะงานในหน้าที่ หรือ
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชา ที่เกี่ยวช้องกับลักษณะงานในหน้าที่ และ
๓. ได้รับใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายกำหนด
คุณสมบัติที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกำหนดเพิ่มเดิม
๑. มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และผ่านการทดสอบตามหลักเกณฑ์ที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กำหนด
๒. มีประสบการณ์ด้านการขับเครื่องจักรกลขนาดหนักมาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี โดยมีหนังสือรับรอง ประสบการณ์จากหน่วยงานเดิมมาแสดงด้วย
๓. มีจิตบริการ เสียสละ และอดทนอดกลั้น
๔. สามารถปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ และนอกสถานที่ราชการได้


พนักงานขับและควบคุมเครื่องจักรกลขนาดเบา

๑. มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และผ่านการทดสอบตามหลักเกณฑ์ที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กำหนด
๒. มีประสบการณ์ด้านการขับเครื่องจักรกลขนาดเบามาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปี โดยมีหนังสือรับรอง ประสบการณ์จากหน่วยงานเดิมมาแสดงด้วย
๓. มีจิตบริการ เสียสละ และอดทนอดกลั้น
๔. สามารถปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ และนอกสถานที่ราชการได้


พนักงานปฏิบัติการด้านสาธารณภัย

๑. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า หรือ
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรือเทียบเท่า หรือ
๓. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า หรือ
๔. ได้รับประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนืยบัตรมัธยมศึกษาตอนต้น หรือ คุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไต้ในระดับเดียวกัน
คุณสมบัติที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกำหนดเพิ่มเดิม
๑. มีอายุไม่ตํ่ากว่า ๑๘ ปี และไม่เกิน ๔๕ ปีบริบูรณ์ (นับถึงวันปิดรับสมัคร)
๒. มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สามารถว่ายนํ้าได้ และผ่านการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย ตามหลักเกณฑ์ที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกำหนด
๓. มีความประสงค์และสมัครใจจะปฏิบัติงานด้านการคู้ภัยและช่วยเหลือผู้ประสบภัย
๔. มีจิตบริการ เลียสละ และอดทนอดกลั้น
๕. สามารถปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ และนอกสถานที่ราชการได้
๖. กรณีเพศชายต้องไม่มีพันธะทางทหาร

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

๑. ปฏิบัติงานและศึกษา วิเคราะห์ วิจัย งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ดังนี้
๑.๑ ก่อนเกิดเหตุ
–    ดำเนินการเฝืาระวังติดตามสถานการณ์สาธารณภัย ๒๔ ชม.
–    รับแจ้งเหตุและรายงาน
–    วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์เฉพาะหน้าเพื่อเตือนภัยและรายงานผู้บังคับบัญชา
๑.๒ ขณะเกิดภัย
–    วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ เพื่อให้คำแนะนำการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้น
–    รายงานผู้บังคับบัญชาเพื่อเป็นข้อมูลในการอำนวยการสั่งการแก้ไขปัญหาสาธารณภัย
–    ประสานการปฏิบัติงานในขณะเกิดเหตุอย่างรวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์โดยการสื่อสาร ที่ทันสมัยเพื่อการบรรเทาสาธารณภัย
๑.๓ หลังเกิดภัย
–    รายงาน และรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวซ้องเพื่อเป็นกรณีศึกษาต่อไป
–    ติดตามสถานการณ์ รวบรวมซ้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลด้านสาธารณภัย
๒. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ERT)

เป็นหัวหน้าชุดเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการประจำชุดเผชิญสถานการณ์วิกฤต มีหน้าที่ ควบคุม ดูแล การปฏิบัติงาน ของเจ้าหน้าที่ประจำชุดเผชิญสถานการณ์วิกฤต และรับผิดชอบ
–    ติดตามข้อมูลสถานการณ์ด้านสาธารณภัยและเตรียมความพร้อม ตลอด ๒๔ ชั่วโมง
–    สำรวจตรวจสอบพื้นที่เสี่ยงภัย
–    ตรวจสอบและจัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ ยานพาหนะให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน
–    ฟิกซ้อมฟิกปฏิบัติ การใช้เครื่องมืออุปกรณ์อย่างสมํ่าเสมอ
–    ร่วมฟิกซ้อมแผนระดับจังหวัด และกลุ่มจังหวัด
–    ร่วมฟิกอบรมให้แก่ อปพร. ทีมกู้ชีพ-คู้ภัย และหน่วยงานในพื้นที่
–    ให้คำแนะนำแก่ประชาชนและภาคีเครือข่ายในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
–    เข้าถึงพื้นที่เกิดเหตุภายในระยะเวลาที่กำหนด
–    ช่วยเหลือผู้ประสบภัยตามแผนปฏิบัติการ
–    ปฏิบัติการพื้นฟูบูรณะพื้นที่ในเบื้องต้น
–    รายงานสถานการณ์และผลปฏิบัติงานให้หัวหน้าชุดปฏิบัติการทราบ
–    ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย


พนักงานขับและควบคุมเครื่องจักรกลขนาดหนัก

๑. ขับและควบคุมการทำงานของเครื่องจักรกลขนาดหนักให้!ด้ประสิทธิภาพตามสมรรถนะ อย่างลูกต้อง และปลอดภัยในเครื่องจักรกลชนิดใดชนิดหนึ่งตามมาตรฐานเครื่องจักรกลที่กำหนดให้เป็นเครื่องจักรกลขนาดหนัก
๒. ซ่อมบำรุงรักษา และแก!ขข้อขัดช้องเล็ก ๆ น้อย ๆ ของเครื่องจักรกลขนาดหนัก
๓. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย


พนักงานขับและควบคุมเครื่องจักรกลขนาดเบา

๑. ขับและควบคุมการทำงานของเครื่องจักรกลขนาดเบาได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ ตามสมรรถนะเครื่องจักรกลชนิดใดชนิดหนึ่งตามมาตรฐานเครื่องจักรกลที่กำหนดให้เป็นเครื่องจักรกลขนาดเบา
๒. ซ่อมบำรุงรักษา และแกไขข้อขัดช้องเล็ก ๆ น้อย ๆ ของเครื่องจักรกลขนาดเบา
๓. ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่ผู้บังคับบัญขามอบหมาย
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง
๑. ได้รับประกาศบียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที,เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวช้องกับลักษณะงานในหน้าที่ หรือ
๒. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวข.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดีในระดับเดียวกันในสาขาวิชา ที่เกี่ยวช้องกับลักษณะงานในหน้าที่ และ
๓. ได้รับใบอนุญาตขับรถตามกฎหมายกำหนด


พนักงานปฏิบัติการด้านสาธารณภัย

เป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการประจำชุดเผชิญสถานการณ์วิกฤต ทำหน้าที่
–    ติดตามข้อมูลสถานการณ์ด้านสาธารณภัยและเตรียมความพร้อม ตลอด ๒๔ ชั่วโมง
–    สำรวจตรวจสอบพื้นที่เสี่ยงภัย
–    ตรวจสอบและจัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณ์ ยานพาหนะให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน
–    ฟิกซ้อมฟิกปฏิบัติ การใช้เครื่องมืออุปกรณ์อย่างสมํ่าเสมอ
–    ร่วมฟิกซ้อมแผนระดับจังหวัด และกลุ่มจังหวัด
–    ร่วมฟิกอบรมให้แก่ อปพร. ทีมคู้ชีพ-คู้ภัย และหน่วยงานในพื้นที่
–    ให้คำแนะนำแก่ประชาชนและภาคีเครือข่ายในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
–    เช้าถึงพื้นที่เกิดเหตุภายในระยะเวลาที่กำหนด
–    ช่วยเหลือผู้ประสบภัยตามแผนปฏิบัติการ
–    ปฏิบัติการพันฟูบูรณะพื้นที่ในเบื้องต้น
–    รายงานสถานการณ์และผลปฏิบัติงานให้หัวหน้าชุดปฏิบัติการทราบ
– ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ

วิชาที่สอบ

พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (โดยการสอบข้อเชียนแบบปรนัย)
๑. วิชาความรู้ความเข้าใจพ็้นฐานในการปฏิบัติราชการ
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบัน สถานการณ์ทางด้านสาธารณภัย ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และนโยบายรัฐบาล
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใซ้ในการปฏิบัติราชการ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ด ระเบียบเกี่ยวกับ งานสารบรรณ และระเบียบเกี่ยวกับพนักงานราชการ
๒. วิชาความรู้ความสามารถที่ใข้เฉพาะตำแหน่ง.
ขอบเขตของเนอหาการประเมินฯ ครงท ๒
– ประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง (การสอบสัมภาษณ์) (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) เป็นการ ประเมินโดยการสัมภาษณ์รายบุคคล เพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งที่สมัคร ประเมินจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับ ผู้ร่วมงาน สังคม สิ่งแวดล้อม ความคีดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพ และพฤติกรรมชองผู้เข้ารับ การประเมิน เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็น สำหรับตำแหน่ง
– ทดสอบภาคปฏิบัติ (การทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย) (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
การวิ่งระยะทาง เอ,๐๐๐ เมตร กำหนดให้ผู้เข้ารับการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย วิ่งตามเส้นทางที่กำหนดให้ครบระยะทาง ๒,๐๐๐ เมตร (เกณฑ์การให้คะแนนทั่งเพศชายและเพศหญิง ตามเกณฑ์อายุ)


พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ERT)

การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (โดยการสอบข้อเซียนแบบปรนัย)
๑    . วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบัน สถานการณ์ทางด้านสาธารณภัย ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และนโยบายรัฐบาล
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบัานเมืองที่ดี ระเบียบเกี่ยวกับ งานสารบรรณ และระเบียบเกี่ยวกับพนักงานราชการ
๒. วิชาความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง
ขอบเขตของเนื้อหาการประเมินฯ ครั้งที่ ๒
– ประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง (การสอบสัมภาษณ์) (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) เป็นการ ประเมินโดยการสัมภาษณ์รายบุคคล เพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งที่สมัคร ประเมินจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับ ผู้ร่วมงาน สังคม สิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพ และพฤติกรรมชองผู้เช้ารับ การประเมิน เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็น สำหรับตำแหน่ง
– ทดสอบภาคปฏิบัติ (การทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย) (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ตามแนวทาง ที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกำหนด ดังนี้
สถานที่ ๑ วิ่งระยะทาง ๒,๐๐๐ เมตร กำหนดให้ผู้เข้ารับการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย วิ่งตามเล้นทางที่กำหนดให้ครบระยะทาง ๒,๐๐๐ เมตร (เกณฑ์การให้คะแนนทั้งเพศชายและเพศหญิง ตามเกณฑ์อายุ)
สถานีที่ ๒ ดันพื้น (push – up) ในเวลา ๒ นาที (เกณฑ์การให้คะแนนทั้งเพศชายและเพศหญิง .ตามเกณฑ์อายุ)
สถานีที่ ๓ อุกทั่ง (sit up) ในเวลา ๒ นาที (เกณฑ์การให้คะแนนทั้งเพศชายและเพศหญิง ตามเกณฑ์อายุ)
สถานีที่ ๔ ทดสอบทักษะความพร้อมในการปฏิบติการ จำนวน ๒ รายการ ดังนี้
(๑) แบกหุ่นจำลอง (Dummy) นํ้าหนัก ๕๐ กิโลกรัม เดินทางเรียบระยะทาง ๕๐ เมตร ภายในเวลาที่กำหนด
(๒) ทดสอบความคล่องคัวและปฏิภาณไหวพริบ (การวิ่งจับคู่สิ่งของ ๔ ระยะทาง ๒๕ เมตร ๕๐ เมตร ๗๕ เมตร และ ๑๐๐ เมตร) ภายในระยะเวลาที่กำหนด
ทั้งนี้ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอาจพิจารณาปรับลดรายการทดสอบได้ตามความเหมาะสม


พนักงานขับและควบคุมเครื่องจักรกลขนาดหนัก

การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (โดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย)
๑. วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบัน สถานการณ์ทางด้านสาธารณภัย ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และนโยบายรัฐบาล
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ระเบียบเกี่ยวกับ งานสารบรรณ และระเบียบเกี่ยวกับพนักงานราชการ
๒. วิชาความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง
การประเมินครั้งที่ ๒
–    ประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง (การสอบสัมภาษณ์) (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) เป็นการประเมินโดยการสัมภาษณ์รายบุคคล เพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งที่สมัคร ประเมิน จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ทวงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม สิ่งแวดล้อม ความดิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพ และ พฤติกรรมชองผู้เข้ารับการประเมิน เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
–    การทดสอบภาคปฏิบัติ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) โดยการประเมินสมรรถนะในการขับ เครื่องจักรกล ตามแนวทางที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกำหนด


พนักงานขับและควบคุมเครื่องจักรกลขนาดเบา

การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (โดยการสอบข้อเซียนแบบปรนัย)
๑. วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบัน สถานการณ์ทางด้านสาธารณภัย ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และนโยบายรัฐบาล
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติราชการ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที,ดี ระเบียบเกี่ยวกับ งานสารบรรณ และระเบียบเกี่ยวกับพนักงานราชการ
๒. วิชาความรู้ความสามารถที่ใฃ้เฉพาะตำแหน่ง
การประเมินครั้งที่ ๒
–    ประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง (การสอบสัมภาษณ์) (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) เป็นการประเมินโดยการสัมภาษณ์รายบุคคล เพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งที่สมัคร ประเมิน จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม สิ่งแวดลัอม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพ และ พฤติกรรมชองผู้เข้ารับการประเมิน เพื่อให้1ต้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับดำแหน่ง
–    การทดสอบภาคปฏิบัติ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) โดยการประเมินสมรรถนะในการขับ เครื่องจักรกล ตามแนวทางที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกำหนด


พนักงานปฏิบัติการด้านสาธารณภัย

ขอบเขตของเนื้อหาการประเมินฯ ครั้งที่ ๑ (คำแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
การประเมินความรู้ ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะ (โดยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย)
’ ๑. วิชาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานในการปฏิบัติราชการ
๑.๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบัน สถานการณ์ทางด้านสาธารณภัย ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เทศโนโลย สารสนเทศ การปกครอง การบริหารราชการ และนโยบายรัฐบาล
๑.๒ ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่ใฃ้ในการปฏิบัติรฺาชการ ได้แก่ กฎหมายว่าด้วยระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน กฎหมายว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารอัดการบัานเมืองที่ดี ระเบียบเกี่ยวกับ งานสารบรรณ และระเบียบเกี่ยวกับพนักงานราชการ
๒. วิชาความรู้ความสามารถทื่ใฃ้เฉพาะตำแหน่ง
ขอบเขตของเนื้อหาการประเมินฯ ครั้งที่ ๒
– ประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง (การสอบสัมภาษณ์) (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) เป็นการ ประเมินโดยการสัมภาษณ์รายบุคคล เพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งที่สมัคร ประเมินจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับ ผู้ร่วมงาน สังคม สิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพ และพฤติกรรมของผู้เข้ารับ การประเมิน เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็น สำหรับตำแหน่ง
– ทดสอบภาคปฏิบัติ (การทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย) (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ตามแนวทาง ที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกำหนด ดังนี้
สถานีที่ ๑ วิ่งระยะทาง ๒,๐๐๐ เมตร กำหนดให้ผู้เข้ารับการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย วิ่งตามเล้นทางที่กำหนดให้ครบระยะทาง ๒,๐๐๐ เมตร (เกณฑ์การให้คะแนนทั้งเพศชายและเพศหญิง ตามเกณฑ์อายุ)
สถานีที่ ๒ ดันพื้น (push – up) ในเวลา ๒ นาที (เกณฑ์การให้คะแนนทั้งเพศชายและเพศหญิง ตามเกณฑ์อายุ)
สถานีที่ ๓ ลุกนง (sit up) ในเวลา ๒ นาที (เกณฑ์การให้คะแนนทั้งเพศชายและเพศหญิง ตามเกณฑ์อายุ)
สถานีที่ ๔ ทดสอบทักษะความพร้อมในการปฏิบัติการ จำนวน ๒ รายการ ดังนี้
(๑) แบกทุ่นจำลอง (Dummy) นํ้าหนัก ๕๐ กิโลกรัม เดินทางเรียบระยะทาง ๕๐ เมตร ภายในเวลาที่กำหนด
(๒) ทดสอบความคล’องตัวและปฏิภาณไหวพริบ (การวิ่งอับคู่สิ่งของ ๔ ระยะทาง ๒๕ เมตร ๕๐ เมตร ๗๕ เมตร และ ๑๐๐ เมตร) ภายในระยะเวลาที่กำหนด
ทั้งนี้ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอาจพิจารณาปรับลดรายการทดสอบได้ตามความเหมาะสม

วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 11 ก.ค. – 25 ก.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

แผนที่ file 1 | เว็บรับสมัคร

Facebook Comments