กรมการข้าว

ลิงค์: https://ehenx.com/17776/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ,นิติกรปฏิบัติการ,เศรษฐกรปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,นายช่างเครื่องกลปฏิบัติการ,นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติการ
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,500-16,500
อัตราว่าง: 54
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 14 พ.ย. – 9 ธ.ค. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมการข้าว เปิดรับสมัคร

ประกาศกรมการข้าว

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งนักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ นิติกรปฏิบัติการ เศรษฐกรปฏิบัติการ เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี ปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน และนายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

ด้วยกรมการข้าวจะดำเนินการสอบแช่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ นิติกรปฏิบัติการ เศรษฐกรปฏิบัติการ เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน และนายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน ฉะนั้น อาศัยอำนาจความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๖๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๖๕๕๖ เรื่อง การสรรหาโดยการสอบแช่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศ รับสมัครสอบแช่งขันฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 13 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นิติกรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เศรษฐกรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 19 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 9 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 6 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ

1. ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นทีเทียบได้ในระดับเดียวกัน
– สาขาวิซาเกษตรศาสตร์
ทางการเกษตร ทางการเกษตรทั่วไป ทางพืชศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์การเกษตร
ทางเทคโนโลยีกรเกษตร ทางพีชไร่ ทงพืชไร่นา ทางก็ฏวิทยา ทางอารักขาพืช ทางโรคพืช ทางโรคพืชวิทยา
ทางปฐพีวิทยา ทงปฐพีศาสตร์ ทางการอาหาร ทงวิทยาศาสตร์การอาหาร ทางเทคโนโลยีการอาหาร
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรอาหาร ทางเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร
– สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรี หรือสูงกว่า


นิติกรปฏิบัติการ

1. ได้รับวุฒิปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชานิติศาสตร์ และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่า


เศรษฐกรปฏิบัติการ

1. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างนทีเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
สาขาวิชาการบัญชี หรือสาขาวิชาบริหารธุรกิจ และ
2.เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรี
หรือสูงกว่า


เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติการ

1. ได้รับประกาศนียปัตรวิชาชีพขั้นสูง ในสาขวิชาเกษตศาสต สาขาวิชธุรกิจเกษตรและสหกรณ์สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร สาขวิชาเกษตรอุตสาหกรรม สขาวิซาการจัดการหลังการเก็บเก็ยว สาขาวิชาพืชศาสตร์หรือสาขาวิชาช่างกลการเกษตร หรือได้รับอนุปริญญาหลักสูตร 3 ปี ต่อจากประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือสูงกว่า


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาการปัญชี สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร และ
2. เป็นผู้สอบผ่านกรวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือสูงกว่า


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นทีเทียบได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือสูงกว่า


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติการ

1. ได้รับประกาศนีบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาขาวิชาเทคนิคโลหะ หรือสาขาวิชาเขียนแบบเครื่องกลหรือสาขาวิชาช่างกลการเกษตร และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือสูงกว่า


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นทีเทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาช่างกลการเกษตร สาขาวิชาเทคนิคโลหะ สาขาวิซาเยนแบบเครื่องกลสาขาวิชาเทคนิคกรผลิต สาขาวิชาไฟฟ้า สาขาวิขาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิซาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีคมนาคม
สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือสูงกว่า


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติการ

1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิขาไฟฟ้าสาขาวิขาไฟฟ้กำลัง สาขาวิซาอิล็กทรอนิกส์ สาขาวิซาทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ
2. เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือสูงกว่า

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเกษตร ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาด้านข้าวและพืชร่วมระบบในนาข้าว การอนุรักษ์ การปรับปรุงพันธุ สรีระวิทยาข้าว วิทยาการด้านเมล็ดพันธุและมาตรฐานพันธุ การเขตกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ การอารักขาข้าว วิทยาการก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า และพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมทั้งงานด้านการผลิตสารบำรุงข้าว และอื่น ๆ เพื่อให้ได้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สำหรับการผลิต และช่วยพัฒนาผลผลิตข้าวให้ได้มาตรฐานและปลอดภัย ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค รวมทั้ง ผลกระทบชองภูมิอากาศต่อการเกษตร
(๒) ศึกษา ค้นคว้าวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับดิน นํ้าและการชลประทานปุย วัตถุมีพิษ การเกษตร เพื่อเพิ่มผลผลิตพืชและปรับปรุงดินให้มีคุณภาพ
(๓) ศึกษา วิเคราะห์ สถานการณ์การผลิต การตลาดของพืช สินค้าเกษตรและสินค้าเกษตร แปรรูป เช่น ปริมาณการผลิต การตลาด ราคาผลผลิต ภัยธรรมชาติ ศัตรูพืช และประเทศคู่แช่ง เป็นต้น เพื่อวางแผนและแนะนำการผลิต และการส่งเสริมให้เกษตรกร ผู้ประกอบการ สามารถผลิตให้ได้มาตรฐาน คุณภาพสินค้าเกษตร
(๔) ศึกษา ทดสอบ วิเคราะห์ และวิจัยเกี่ยวกับงานพัฒนาที่ดิน ด้านการอนุรักษ์ดินและนํ้า การปรับปรุงบำรุงดิน การแก่ไขดินที่มีปัญหา การวิเคราะห์สภาพการใช้ที่ดิน และการวางแผน การใช้ที่ดิน เพื่อการพัฒนาที่ดิน
(๕) ล่งเสริมและสนับสบุนในการให้บริการวิชาการ ก่ายทอดเทคโนโลยีด้านข้าว และปัจจัยการผลิต รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนการฟิกอบรมและสาธิตเพื่อให้เกษตรกร และผู้ที่เกี่ยวข้องได้นำไปใช้ประโยชน์
(๖) ให้บริการด้านวิชาการทางการเกษตร เกี่ยวกับการวินิจฉัย ตรวจสอบวิเคราะห์ปัจจัย การผลิต โรคแมลงศัตรูพืช วัชพืช การตรวจสอบรับรองผลิตผล ผลิตภัณฑ์พืชและการเดือนภัยการระบาด ของโรคแมลงศัตรูพืช เพื่อการป้องกันกำจัดที่เหมาะสม
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธี้ที่กำหนด
en. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) รวบรวม จัดทำข้อมูล การจัดทำรายงานเกี่ยวกับสารสนเทศทางการเกษตร เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ และให้บริการข้อมูลแก่ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และผู้เกี่ยวข้อง
(๒) ให้คำปรึกษา แนะนำ จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิขาการเกษตรแกหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เกษตรกร ผู้ประกอบการ และประชาชนทั่วไป เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปใช้ปฏิบัติให้เกิดประโยชน์
(๓) ให้คำปรึกษา แนะนำ ในงานด้านวิชาการแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้สามารถ ดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ


นิติกรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านนิติการ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) เสนอความเห็นแก่ผู้บังคับบัญชาในการตอบข้อหารือหรือวินิจฉัยปัญหากฎหมาย เกี่ยวกับระเบียบของทางราชการที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานของหน่อยงาน เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุน การพิจารณาของผู้บังคับบัญชา
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยเพื่อปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวกับหน่วยงาน ที่รับผิดชอบ เพื่อให้ทันกับสถานการณ์และอำนวยความสะดวกในการทำงาน โดยพิจารณาถึงความเหมาะสม และเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย
(๓) ศึกษาข้อมูล รวบรวม แสวงหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย เสนอความเห็นในการ ดำเนินการเรื่องใดๆ ที่เกี่ยวกับวินัยช้าราชการ การร้องทุกข์ การพิทักษ์ระบบคุณธรรม รวมถึง การดำเนินการใดๆ ตามกฎหมายปกครองที่เที่ยวข้องกับการบริหารราชการ แสะการตำเนินคดีชองหน่วยงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และสามารถดำเนินการได้อย่างถูกต้อง
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานงานทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงาน หรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธ็๋ตามที่กำหนด
(๒) ขี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้คำปรึกษาแนะนำด้านกฎหมายแก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจ ในข้อกฎหมายที่เป็นปัญหา และให้ความรู้ถึงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์กับการดำเนินงาน ของบุคคลหรือหน่วยงานดังกล่าว


เศรษฐกรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเศรษฐกิจ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านปฏิบัติการ
(๑) รวบรวมข้อมูลหรือวิเคราะห์สถานการณ์เศรษฐกิจเบื้องต้นที่ไม่ซับซ้อน ทั้งเศรษฐศาสตร์มหภาคและจุลภาค (ด้านการคลัง การค้า อุตสาหกรรม เกษตรกรรม ทรัพยากรธรรมชาติ เศรษฐกิจที่ดิน พลังงาน ฯลฯ) เพื่อศึกษา วิเคราะห์ วิจัย หรือเสนอแนะประเด็นสำคัญหรือกิจกรรมต่างๆ ที่กี่ยวกับด้านเศรษฐศาสตร์ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนกลยุทธ์ กำหนดนโยบาย แผนการ แนวทาง หลักเกณฑ์ มาตรการ หรือดัชนีทางเศรษฐศาสตร์
(๒) ติดตามผลการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ในด้านใดด้านหนึ่งของการดำเนินนโยบายมาตรการ หรือกิจกรรมด้านเศรษฐกิจ (การคลัง การพาณิชย์ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม ทรัพยากรธรรมชาติ หรือพลังงาน หรือการบริหารหนี้สาธารณะชองภาครัฐ) เพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าและสนับสนุนการเสนอแนวทาง หรือวางแผนแนวทางแก้ไข หรือปรับปรุงปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น
(๓) สรุปรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติงานหรือการรวบรวมข้อมูลด้านการจัดทำดัชนี วัฏจักรเศรษฐกิจ โครงสร้างเศรษฐกิจ เครื่องชี้วัดทางเศรษฐศาสตร์ หรือแบบจำลองต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กับทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อสนับสนุนและประกอบการวิเคราะห์และคาดการณ์ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของ นโยบายด้านเศรษฐกิจต่างๆ ของรัฐบาลต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเปัาหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำหรือปรึกษาในเรื่องข้อมูลต่างๆ ทางเศรษฐศาสตร์ในระดับเบื้องต้น ให้แก่ หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุงหรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ในด้านเศรษฐศาสตร์ต้านต่างๆ

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ


เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านการเกษตร ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ช่วยทำการศึกษา ด้นคว้า วิจัย พัฒนา ทดลอง ทดสอบ วิเคราะห์ ตรวจสอบ รับรอง ทางด้านวิชาการเกษตร เพื่อให้มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
(๒) ผลีต และให้บริการ ด้านพืช และปัจจัยการผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตตามเป้าหมาย และมีคุณภาพตามมาตรฐาน
(๓) ปฏิบัติการด้านวิชาการเกษตร เช่น การดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย การพัฒนาที่ดิน การส่งเสริมการเกษตร การจัดการไร่นา การใช้นํ้าขลประทาน เป็นต้น เพื่อสนับสนุนงานวิชาการ และเผยแพร่ความรู้ แก่เกษตรกร
(๔)ช่วยวางแผน ล่งเสริมการผลิต และจัดทำโครงการสนับสนุน การผลิตของเกษตรกร เพื่อเป็นการเพิ่มผลผลิตชองเกษตรกร
๒. ด้านการบริการ
(๑) สาธิต แนะนำล่งเสริม ขิกอบรม และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เพื่อนำความรู้ไปปฏิบัติ
(๒) ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ และแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาการเกษตร เพื่อให้มีการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาปฏิบัติงาน ด้านการเงินและบัญชี ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้งานเป็นไปตาม เป้าหมายที่กำหนด
(๒) รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบในการทำงบประมาณประจำปี ของหน่วยงาน
(๓) ตรวจสอบและดูดวามถูกต้องของเอกสารสำคัญทางการเงิน เพื่อให้เกิดความถูกต้อง ในการปฏิบัติงาน
(๔) ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราขการ เอกชน หรือประชาขนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงานและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ชองหน่วยงาน
๒    . ด้านการบริการ
(๑)ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี แก่เจ้าหน้าที่ ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญแก่ผู้ที่สนใจ
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและความร่วมมือในงานการเงินและบัญชี และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญ ที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงาน


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธี ที่ชัดเจนภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไต้รับมองหมาย โดยมีลักษณะงาน ที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือโต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนงานต่างๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวกราบรื่น และมีหลักฐานตรวจสอบได้
(๒)รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสารหลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวกต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ
(๓)ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ใช้งาน และอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
(๕) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่างๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒. ด้านการบริการ
(๑)ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวช้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
(๓) ผลิตเอกสารต่างๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษา ระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างเครื่องกล ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ดำเนินการตรวจสอบ บำรุงรักษา ซ่อมแก้ไข ปรับปรุง เครื่องจักรกลยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้พร้อมใช้อยู่เสมอ
(๒) ดำเนินการออกแบบ เขียนแบบเครื่องกล การผลิตชิ้นส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ ติดตั้ง ทดลอง ทดสอบ สอบเทียบเครื่องมือ ประมาณราคา เครื่องจักรกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับการใช้งาน
(๓) สำรวจ รวบรวมข้อมูล จัดทำสถิติ ประวัติการบำรุงรักษา การซ่อมเครื่องจักรกล เครื่องมือกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อเป็นข้อมูลหลักฐานสำหรับนำไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงงาน
๒. ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
(๒)ให้คำแนะนำและบริการแกผู้มาติดต่อราขการ เพื่อให้ประขาขนเกิดความรู้ความเข้าใจ ในการทำงาน


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างเทคนิค ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ดูแล ควบคุม ตรวจซ่อมและบำรุงรักษา ระบบสาธารณูปโภค เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ วัสดุและครุภัณฑ์อื่นๆ ในความรับผิดชอบ เพื่อให้เกิด ความปลอดภัยและพร้อมในการใช้งาน
(๒) ซ่อม สร้าง ผลิต ประกอบ ดัดแปลง เขียนหรือออกแบบ ติดตั้ง เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งการทดลองใช้เครื่องจักร เครื่องกล และสิ่งก่อสร้าง เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชา และมาตรฐานงานช่าง และให้เกิดความปลอดภัย
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำ จัดทำข้อมูล ถ่ายทอดความรู้ทั้งในเชิงทักษะเฉพาะด้านและทักษะ ทั่วไปให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชน เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
(๒) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวซ้อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างไฟฟ้า ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุง ควบคุม การใช้งาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลข่าวสารในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการ ของหน่วยงานภายในและภายนอก
(๒) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
(๓) ปรับเทียบค่ามาตรฐานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการออกใบรับรองตามที่หน่วยงาน หรือกฎหมายกำหนด
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหาให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการ ทั้งภายใน และภายนอกหน่วยงาน เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
(๒) ประสานงาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อประกอบการปฏิบัติงานอย่างครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ

วิชาที่สอบ

นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ

–    ความรู้ทั่วไปด้านการเกษตร
–    ความรู้ด้านวิทยาการเมล็ดพันธุ
–    ความรู้ด้านพีขไร่
–    ความรู้ด้านการปรับปรุงพันธุ
–    ความรู้ด้านเทคโนโลยีชีวภาพ
– ความรู้ด้านเทคโนโลยีการผลิตพืซ


นิติกรปฏิบัติการ

– พระราชบัญญัติระเบียบบริหาราขการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม – พระราขบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๖๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม – พระราขบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ – พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
–    พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๖๕๔๒
–    ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ประมวลกฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความแพ่ง และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
–    พระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
– พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม


เศรษฐกรปฏิบัติการ

–    พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
–    ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ การเงิน การคลัง และนโยบายรัฐบาล
– ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสภาวะเศรษฐกิจ


เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติการ

–    ทดสอบความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับด้านการเกษตรทั่วไป
–    การใช้และจัดการพื้นที่ทางการเกษตร
–    การขยายพันธุและการปรับปรุงพันธุพืช
–    เครื่องจักรเครื่องมือทางการเกษตร
–    การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมทางการเกษตร


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

■    ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
–    ความรู้เกี่ยวกับหลักการบัญชีเบื้องต้น
–    ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
–    ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
–    ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก็ไขเพิ่มเดิม
–    ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดลองราชการ พ.ศ. ๒๕๖๒
– ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน
ของส่วนราชการ พ.ศ. ๒๕๕๓


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

■ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณพ.ศ.๒๕๒๖ และที่แค้ไขเพิ่มเดิม – ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราขการ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แค้ไขเพิ่มเดิม ■ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๒และที่แค้ไขเพิ่มเดิม – ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕ – พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ – พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ – พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑


นายช่างเครื่องกลปฏิบัติการ

– ความรู้เกี่ยวกับการซ่อมแซม บำรุงรักษา เครื่องมือกลโรงงาน ระบบไฟฟ้า ควบคุม
เครื่องจักรกลเกษตร และยานพาหนะ


นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน

–    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานช่างพื้นฐาน
–    ความรู้เกี่ยวกับการดูแล ควบคุม ตรวจซ่อมบำรุงรักษาระบบสาธารณูปโภค เครื่องจักร เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ วัสดุและครุภัณฑ์อื่นๆ
–    ความรู้เกี่ยวกับการซ่อม สร้าง ผลิต ประกอบ ดัดแปลง เขียนแบบ ติดตั้ง เครื่องจักร
เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ
–    ความรู้ความเข้าใจงานด้านช่างเทคนิคที่จำเป็นตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติการ

–    ความรู้พื้นฐานทางไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
–    ความรู้พื้นฐานระบบสื่อสารข้อมูลดิจิตอลและคอมพิวเตอร์
–    ความรู้พื้นฐานระบบเครื่องรับ-ส่งวิทยุ ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่และชุมสายโทรคมนาคม
ระบบลื่อสารด้วยเส้นใยแก้วนำแสง ระบบลื่อสารไมโครเวฟ ระบบสายอากาศและสายนำสัญญาณ การแพร่กระจายคลื่นความถี่วิทยุ และระบบการลื่อสารผ่านดาวเทียม
–    ความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอร์เน็ต ระบบมัลดิมีเดีย และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
–    ความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลังและอุปกรณ์ระบบป้องกันทางไฟฟ้า ระบบแสงสว่าง และระบบเครื่องปรับอากาศ
–    ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ และการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์
–    ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือตรวจวัดทางไฟฟ้า การตรวจทดสอบและการวัด


วิธีการสมัครงานข้าราชการ กรมการข้าว  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 14 พ.ย. – 9 ธ.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัครกรมการข้าว

ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร

Facebook Comments