กรมชลประทาน

ลิงค์: https://ehenx.com/16571/ หรือ
ตำแหน่ง: เจ้าพนักงานธุรการ,เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์,เจ้าพนักงานประมง,เจ้าพนักงานการเกษตร,นายช่างชลประธาน,นายช่างโยธา,นายช่างสำรวจ,นายช่างเครื่องกล,นายช่างไฟฟ้า,นายช่างไฟฟ้าสื่อสาร,นายช่างภาพ,นายช่างเขียนแบบ,นายช่างศิลป์,พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา,พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง,พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก,นิติกร,นักวิชาการสิ่งแวดล้อม,วิศวกรชลประทาน,นักวิชาการคอมพิวเตอร์
ระดับการศึกษา: ม.ต้น,ปวส.,ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,280-19,500
อัตราว่าง: 266
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร,กระบี่,กาญจนบุรี,กาฬสินธุ์,กำแพงเพชร,ขอนแก่น,จันทบุรี,ฉะเชิงเทรา,ชัยนาท,ชัยภูมิ,ชุมพร,ชลบุรี,เชียงใหม่,เชียงราย,ตรัง,ตราด,ตาก,นครนายก,นครปฐม,นครพนม,นครราชสีมา,นครศรีธรรมราช,นครสวรรค์,นราธิวาส,น่าน,นนทบุรี,บึงกาฬ,บุรีรัมย์,ประจวบคีรีขันธ์,ปทุมธานี,ปราจีนบุรี,ปัตตานี,พะเยา,พระนครศรีอยุธยา,พังงา,พิจิตร,พิษณุโลก,เพชรบุรี,เพชรบูรณ์,แพร่,พัทลุง,ภูเก็ต,มหาสารคาม,มุกดาหาร,แม่ฮ่องสอน,ยโสธร,ยะลา,ร้อยเอ็ด,ระนอง,ระยอง,ราชบุรี,ลพบุรี,ลำปาง,ลำพูน,เลย,ศรีสะเกษ,สกลนคร,สงขลา,สมุทรสาคร,สมุทรปราการ,สมุทรสงคราม,สระแก้ว,สระบุรี,สิงห์บุรี,สุโขทัย,สุพรรณบุรี,สุราษฎร์ธานี,สุรินทร์,สตูล,หนองคาย,หนองบัวลำภู,อำนาจเจริญ,อุดรธานี,อุตรดิตถ์,อุทัยธานี,อุบลราชธานี,อ่างทอง
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 1 เม.ย. – 10 เม.ย. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมชลประทาน เปิดรับสมัคร

ประกาศกรมชลประทาน

เรื่อง รับสมัครบุคคล (คนพิการ) เพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป

ด้วยกรมชลประทานประสงค์จะรับสมัครบุคคล (คนพิการ) เพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชการ ประเภทพนักงานราชการทั่วไป ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหาและการเลือกสรวิพนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้าง ของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ ประกาศคณะกรรมการบริหาร พนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงานและการจัดทำกรอบ อัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม และ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ ประกอบกับหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔.๑/คพร./พิเศษ ๑๗๙๑ ลงวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๔ จึงประกาศรับสมัครบุคคล (คนพิการ) เพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

เจ้าพนักงานธุรการ

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์

อัตราว่าง : 25 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานประมง

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานการเกษตร

อัตราว่าง : 10 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างชลประธาน

อัตราว่าง : 23 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างโยธา

อัตราว่าง : 9 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างสำรวจ

อัตราว่าง : 18 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างเครื่องกล

อัตราว่าง : 93 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างไฟฟ้า

อัตราว่าง : 6 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างไฟฟ้าสื่อสาร

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างภาพ

อัตราว่าง : 6 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างเขียนแบบ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างศิลป์

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 13800- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา

อัตราว่าง : 11 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11280- บาท

คุณวุฒิ : ม.ต้น


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11850- บาท

คุณวุฒิ : ม.ต้น


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก

อัตราว่าง : 11 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 12410- บาท

คุณวุฒิ : ม.ต้น


นิติกร

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการสิ่งแวดล้อม

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิศวกรชลประทาน

อัตราว่าง : 30 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 19500- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการคอมพิวเตอร์

อัตราว่าง : 7 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 19500- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

เจ้าพนักงานธุรการ

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ทุกสาขาวิชา


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์

ได้รับคุณวุฒิประกาศปิยบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับ เดียวกันในสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ หรือสาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์


เจ้าพนักงานประมง

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.)หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาแปรรูปสัตว์นํ้า สาขาวิชาการควบคุมเรือประมง หรือ สาขาวิชาอุตสาหกรรมสัตว์นํ้า


เจ้าพนักงานการเกษตร

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาธุรกิจเกษตรและสหกรณ์ สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาเกษตร อุตสาหกรรม สาขาวิชาการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว สาขาวิชาพืชศาสตร์ หรือสาชาวิชาช่างกลการเกษตร


นายช่างชลประธาน

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไนระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ สาขาวิชาการก่อสร้าง หรือสาขาวิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม


นายช่างโยธา

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง


นายช่างสำรวจ

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง


นายช่างเครื่องกล

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาช่างยนต์ สาชาวิชาเทคนิคการผลิต สาขาวิชาเทคนิคโลหะ สาขาวิชาเขียนแบบ เครื่องกล หรือสาขาวิชาช่างกลการเกษตร


นายช่างไฟฟ้า

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ หรือสาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์


นายช่างไฟฟ้าสื่อสาร

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ สาขาวิชา เทคนิคคอมพิวเตอร์ หรือสาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง


นายช่างภาพ

๑. ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งทางช่างภาพ ทางการถ่ายภาพ ทางเทคโนโลยีการถ่ายภาพและ วีดีทัศน์ หรือทางการถ่ายภาพและภาพยนตร์ หรือ
๒. ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบ ได้ในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา และมีประสบการณ์ในการถ่ายภาพอย่างน้อย ๒ ปี (โดยต้องแนบหลักฐาน หนังสือรับรองประสบการณ์การทำงานด้านการถ่ายภาพ จากหน่วยงานราชการ หรือหน่วยงานเอกชน) หรือ รางวัลที่ได้รับจากการประกวดการถ่ายภาพที่มีการรับรองจากหน่วยงานราชการ หรือหน่วยงานเอกชน


นายช่างเขียนแบบ

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ใน ระดับเดียวกันในสาขาวิชาการก่อสร้าง สาขาวิชาเขียนแบบเครื่องกล สาขาวิชาโยธา หรือสาขาวิชาเทคนิค สถาปัตยกรรม


นายช่างศิลป์

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งในสาขาวิชาวิจิตรคิลป็ หรือสาขาการออกแบบ


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา

ได้รับคุณวุฒิไม่ตํ่ากว่าการศึกษาภาคบังคับ และได้รับใบอนุญาตขับรถตามกฎหมาย ชนิดที่ ๒ ขึ้นไป ซึ่งมีความรู้ความสามารถ และทักษะในงานขับเครื่องจักรกลไม่ตํ่ากว่า ๕ปี โดยต้องแนบหนังสือรับรอง ประสบการณ์การทำงาน จากนายจ้างหรือหน่วยงานซึ่งระบุถึงลักษณะงานที่ได้ปฏิบัติเกี่ยวกับการขับเครื่องจักรกล หน้าที่ความรับผิดชอบ


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง

ได้รับคุณวุฒิไมตากว่าการศึกษาภาคบังคับ และได้รับใบอนุญาตขับรถตามกฎหมาย ชนิดที่ ๒ ขึ้นไป ซึ่งมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในงานขับเครื่องจักรกล ไม่ตํ่ากว่า ๗ ปี โดยต้องแนบหนังสือรับรอง ประสบการณ์การทำงาน จากนายจ้างหรือหน่วยงานซึ่งระบุถึงลักษณะงานที่ได้ปฏิบัติเกี่ยวกับการขับเครื่องจักรกล ตามลักษณะงานที่กำหนดอย่างใดอย่างหนึ่งมาไม่น้อยกว่า ๒ ปี ดังนี้
๑) รถแทรกเตอร์ขนาดเครื่องยนต์ ตํ่ากว่า ๑๕๐ BHP ลงมา
๒) รถตักทุกแบบตํ่ากว่า ๑๕๐ BHP
๓) รถกะบะเทความจุตั้งแต่ ๕ – ๑๐ ลูกบาศก์หลา
๔) รถพ่นยาง
๕) รถลากพ่วง ขนาดตั้งแต่ ๒๐ ตันขึ้นไป
๖) รถตีเส้น
๗) รถบดไอนํ้า ตั้งแต่ ๘ ตันขึ้นไป
๘) รถบดสั่นสะเทือนตั้งแต่ ๘ ตันขึ้นไป
๙) รถบดล้อเหล็ก ๒ ล้อ ตั้งแต่ ๘ ตันขึ้นไป
๑๐) รถบดล้อเหล็ก ๓ ล้อ ตั้งแต่ ๘ ตันขึ้นไป
๑๑) รถกลิ้งตีนแกะชนิดขับเคลื่อนด้วยตัวเองตั้งแต่ ๘ ตันขึ้นไป
๑๒) รถบดล้อยางชนิดขับเคลื่อนด้วยตัวเองตั้งแต่ ๘ ตันขึ้นไป
๑๓) รถยกแบบงาแซะเกินกว่า ๕ ตัน
๑๔) เครื่องจักรกลอื่นที่มีลักษณะเทียบเท่าตามข้อ ๑ – ๑๓


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก

ได้รับคุณวุฒิไม่ตำกว่าการศึกษาภาคบังคับ และได้รับใบอนุญาตขับรถตามกฎหมาย ชนิดที่ ๒ ขึ้นไป ซึ่งมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในงานขับเครื่องจักรกล ไม่ตำกว่า ๙ ปี โดยต้องแนบหนังสือรับรอง ประสบการณ์การทำงาน จากนายจ้างหรือหน่วยงานซึ่งระบุถึงลักษณะงานที่ได้ปฏิบัติเกี่ยวกับการขับเครื่องจักรกล ตามลักษณะงานที่กำหนดอย่างใดอย่างหนึ่งมาไม่น้อยกว่า ๔ ปี ดังนี้
๑) รถแทรกเตอร์ขนาดเครื่องยนต์ตั้งแต่ ๑๕๐ BHP ขึ้นไป
๒) รถปาดดินที่ขับเคลื่อนด้วยตนเอง
๓) รถกะบะเทความจุตั้งแต่ ๑๐ ลูกบาศก์หลาขึ้นไป
๔) รถขุดดินทุกชนิด ทุกขนาด
๕) รถลาก รถพ่วง ขนาดตั้งแต่ ๒๐ ตันขึ้นไป
๖) เครื่องปูแอสฟ้ลท์ ผสมเสร็จ
๗) รถยกแบบทรัคเครน
๘) เครื่องผสมดินแบบขับเคลื่อน
๙) รถเกลี่ย ขนาดตั้งแต่ ๑๕๐ BHP ขึ้นไป
๑๐) รถตักทุกแบบขนาด ๑๕๐ BHP ขึ้นไป
๑๑) เครื่องจักรกลอื่นที่มีลักษณะเทียบเท่าตามข้อ ๑ – ๑๐


นิติกร

ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขา วิชานิติศาสตร์


นักวิชาการสิ่งแวดล้อม

ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิทยาการ สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ทางวนศาสตร์ ทางประมง สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม


วิศวกรชลประทาน

๑.ได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในสาขาวิชา วิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมโยธา ทางวิศวกรรมชลประทาน ทางวิศวกรรมการเกษตร ทางวิศวกรรม ทรัพยากรนํ้า ทางวิศวกรรมโยธา – ทรัพยากรนํ้า ทางวิศวกรรมโยธา – ชลประทาน ทางวิศวกรรมแหล่งนํ้าและ
๒.ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามที่กฎหมายกำหนด (สาขาโยธา) (ภายในวันที่ ๑0 เมษายน ๒๕๖๕ ซึ่งเป็นวันปิดรับสมัคร)


นักวิชาการคอมพิวเตอร์

ได้รับคุณวุฒปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไนระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใด สาขาวิชาหนึ่งทางคอมพิวเตอร์ หรือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

เจ้าพนักงานธุรการ

ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ บริการทั่วไป หรือด้านการเงินและบัญชี หรือด้านพัสดุหรือ ด้านบุคลากร ตามแนวทาง แบบอย่างขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายโดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือ โต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวก ราบรื่น และมีหลักฐานตรวจสอบได้
๒. จัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้งานเป็นไปตาม เป้าหมายที่กำหนด
๓. รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบในการทำงบประมาณประจำปี ของหน่วยงาน
๔. ปฏิบัติงานขั้นต้นเกี่ยวกับงานพัสดุในการจัดหา จัดซื้อ ว่าจ้าง การเก็บรักษานำส่ง การ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาพัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง เพื่อให้อยู่ในสภาพดีพร้อมต่อการใช้งาน
๕. ทำทะเบียนการเบิกจ่ายพัสดุ การเก็บรักษาใบสำคัญหลักฐาน และเอกสารเกี่ยวกับพัสดุ เพื่อรวบรวมไว้เป็นข้อมูลในการดำเนินงาน
๖. ร่างและตรวจซื้อสัญญาซื้อ สัญญาจ้าง หนังสือโต้ตอบ บันทึก ย่อเรื่องเกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อเป็นหลักฐานในการดำเนินงาน
๗. ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไวใช้งาน และอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
๘. ดำเนินการรวบรวมข้อมูล ทะเบียนเอกสาร ทะเบียนประวัติ เพื่อความสะดวกรวดเร็วใน การค้นหางานด้านบุคคล
๙. รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงาน และข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๑๐. ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์

ปฏิบัติงานด้านเครื่องคอมพิวเตอร์ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการ ที่ชัดเจนภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไต้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ควบคุม ดูแล ติดตั้ง บำรุงรักษา ซ่อมแซม ตรวจสอบการทำงาน แก้ไขปัญหาการใช้ งานของระบบเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ระบบเครือข่ายสื่อสาร รวมทั้งระบบสนับสนุนต่าง ๆ เพื่อให้ระบบงานต่าง ๆ สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
๒. ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูล ปรับปรุง ดูแล รักษาความปลอดภัยจัดเก็บ สำรอง กู้คืนข้อมูล เพื่อสนับสนุนการใช้ประโยชน์ข้อมูลและป้องกันการสูญหายของข้อมูล
๓. จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผน บำรุงรักษา
๔. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการทั้งภายในและ ภายนอกหน่วยงานเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
๕. ประสานงาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานเพื่อ ประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานประมง

ปฏิบัติงานด้านประมงตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ช่วยงานศึกษาทดลอง วิเคราะห์ และวิจัยทางวิชาการประมง เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ที่เป็น ประโยชน์
๒. ช่วยงานสำรวจ ศึกษา ทดลอง วิเคราะห์ และวิจัยทางวิชาการเกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์นํ้า และสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศทางทะเลและชายส่ง เพื่อส่งเสริมและพัฒนางานด้านระบบนิเวศทางทะเลและ ชายส่ง
๓. ดำเนินการตามแผนการอนุรักษ์และฟินฟูทรัพยากรสัตว์นํ้าและสิ่งแวดล้อม เพื่อการใช้ ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
๔. จัดทำทะเบียนจับสัตว์นํ้า และทะเบียนอื่น ๆ เกี่ยวกับการประมง เพื่อควบคุมให้การ ดำเนินการต่าง ๆ เป็นไปตามประกาศและกฎระเบียบของทางราชการ
๕. รวบรวมข้อมูลและจัดทำรายงานการดำเนินงานเกี่ยวกับการประกอบการประมง เพื่อประกอบการวางแผนงานและนโยบายของหน่วยงาน
๖. ดูแลการประกอบการประมงของผู้ประกอบอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าและชาวประมง เพื่อให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด ปลอดภัย เป็นไปตามมาตรฐานและไม่ทำลายสมดุลของสิ่งแวดล้อม
๗. ประสานงานกับหน่วยงาน หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูง
๘. บริการข้อมูลทางประมงแก่หน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง


เจ้าพนักงานการเกษตร

ปฏิบัติงานด้านการเกษตร ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้การ กำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่าง ดังนี้
๑. ช่วยทำการศึกษา ด้นคว้า วิจัย ทดลอง วิเคราะห์ ตรวจสอบ รับรองทางด้านวิชาการเกษตร เพื่อให้มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
๒. ผลิต และให้บริการ ด้านพืช ไหม และปัจจัยการผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตตามเป้าหมายและ มีคุณภาพตามมาตรฐาน
๓. ปฏิบัติการด้านวิชาการเกษตร เช่น การดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายการพัฒนาที่ดิน การส่งเสริมการเกษตร การจัดการไร่นา การใช้นํ้าชลประทาน เป็นต้น เพื่อสนับสนุนงานวิชาการและเผยแพร่ ความรู้แก่เกษตรกร
๔. ช่วยวางแผน ส่งเสริมการผลิต และจัดทำโครงการสนับสนุน การผลิตของเกษตรกรเพื่อ เป็นการเพิ่มผลผลิตของเกษตรกร
๕. สาธิต แนะนำ ส่งเสริม ฟิกอบรม และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เพื่อนำความรู้ไปปฏิบัติ
๖. ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ และแนวทางการแก้ไชปัญหาการเกษตร เพื่อให้มีการ แก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ


นายช่างชลประธาน

ปฏิบัติงานด้านช่างชลประทาน ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่าง ดังนี้
๑. สำรวจข้อมูลเพื่อดำเนินการส่งนํ้า ระบายนํ้า การก่อสร้าง ปรับปรุงและบำรุงรักษา ระบบชลประทานให้ตรงตามวัตถุประสงค์การใช้งาน และตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการทุกภาคส่วน
๒. ศึกษา ทดสอบ สภาพนํ้า เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ และตรวจสอบอาคารชลประทาน เพื่อ ปรับปรุงและพัฒนาระบบชลประทานให้มีประสิทธิภาพ
๓. ดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรชลประทาน การมีส่วนร่วมองค์กรผู้!,ช้นํ้า เพื่อให้ การชลประทานกระจายให้ทั่วถึง เพียงพอต่อการเกษตร และเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด
๔. รวบรวม จัดเก็บ สถิติข้อมูล เกี่ยวกับการชลประทาน เพื่อใช้ในการปรับปรุง พัฒนา ระบบชลประทานและการจัดการ
๕. ดำเนินการป้องกันและบรรเทาภัยจากนํ้า เพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนของ ราษฎรที่ประสบภัยจากนํ้า
๖. จัดทำแผนการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาแหล่งนํ้าและบริหารจัดการนํ้า ที่มีประสิทธิภาพ
๗. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับงานชลประทานที่ตน รับผิดชอบแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญ ด้านงานชลประทานแก่ผู้ที่สนใจ
๘. ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอ ความช่วยเหลือและร่วมมือในงานชลประทานพร้อมทั้งแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อ การทำงานของหน่วยงาน


นายช่างโยธา

ปฏิบัติงานด้านช่างโยธา ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้การ กำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลาย อย่าง ดังนี้
๑. สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษา โครงการก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อให้ตรง ตามหลักวิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงาน และงบประมาณที่ได้รับ
๒. ตรวจสอบ แก้ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูป และรายการ เพื่อให้ การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
๓. ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
๔. ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแชม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับมอบหมาย พร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
๕. รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ในงานช่าง
๖. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และฟิกอบรมเกี่ยวกับงานโยธาที่ตนมีความรับผิดชอบแก่ ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจ ได้รับทราบข้อมูล ความรู้ต่าง ๆ และมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงาน
๗. ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอ ความช่วยเหลือและร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ของหน่วยงาน และปฏีบํตหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างสำรวจ

ปฏิบัติงานด้านช่างสำรวจ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้การ กำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลาย อย่าง ดังนี้
๑. สำรวจ รังวัด คำนวณ ตรวจสอบ จัดทำแผนที่ แผนผัง เพื่อให้ทราบรายละเอียดและ เป็นไปตามแบบที่กำหนด สามารถนำไปใช้ประโยชน์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒. แก่ไขปัญหาเบื้องต้นจากการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของ งานที่กำหนดไว้
๓. วัดระดับของภูมิประเทศ วางโครงข่ายหมุดหลักฐาน แผนที่ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงาน
๔. บันทึกข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ที่ได้จากการสำรวจ และรายงานผลเพื่อติดตาม ความก้าวหน้าของงาน
๕. กำหนดชั้นตอนการปฏิบัติงาน และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ ที่ได้จากการสำรวจ เพื่อให้ข้อมูลที่ได้มีความถูกต้อง
๖. ให้คำปรึกษา แนะนำ ทั้งในเชิงทักษะเฉพาะด้านและทักษะทั่วไปแก่บุคลากรทุกสายงาน เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ และมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
๗. ติดต่อประสานกับหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างเครื่องกล

ปฏิบัติงานด้านช่างเครื่องกล ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่าง ดังนี้
๑. ดำเนินการตรวจสอบ บำรุงรักษา ซ่อมแซมแกไข ปรับปรุง เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องมือ อุปกรณ์ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้พร้อมใช้อยู่เสมอ
๒. ดำเนินการออกแบบ เขียนแบบเครื่องกล การผลิตชิ้นส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ ติดตั้ง ทดลอง ทดสอบ สอบเทียบเครื่องมือ ประมาณราคา เครื่องจักรกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและเหมาะสมกับการใช้งาน
๓. สำรวจ รวบรวมข้อมูล จัดทำสถิติ ประวัติการบำรุงรักษา การซ่อมเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อเป็นข้อมูลหลักฐานสำหรับนำไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงงาน
๔. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในภายนอกส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การ ปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
๕. ให้คำแนะนำและบริการแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจใน
การทำงาน


นายช่างไฟฟ้า

ปฏิบัติงานด้านช่างไฟฟ้า ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้การ กำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่าง ดังนี้
๑. สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุงควบคุมการใช้ งาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ คอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมี ประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของหน่วยงานภายในและภายนอก
๒. จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผน บำรุงรักษา
๓. ปรับเทียบค่ามาตรฐานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการออกใบรับรองตามที่หน่วยงาน หรือกฎหมายกำหนด
๔. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการทั้งภายในและ ภายนอกหน่วยงานเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
๕. ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานเพื่อ ประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ


นายช่างไฟฟ้าสื่อสาร

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานช่างไฟฟ้าสื่อสาร เช่น การซ่อม สร้าง ดัดแปลง ออกแบบติดตั้งเครื่องมือ อุปกรณ์การสื่อสารที่เกี่ยวกับไฟฟ้า เซ่น วิทยุ โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร โทรพิมพ์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ทำการทดสอบเครื่องมือสื่อสาร ช่วยคำนวณรายการ และประมาณราคา ในการดำเนินงานสื่อสารด้านต่าง ๆ และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างภาพ

ปฏิบัติงานด้านช่างภาพ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ถ่ายภาพ ถ่ายวีดีทัศน์ บันทึกภาพยนตร์ ในเรื่องต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมาย เพื่อการ ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
๒. ตกแต่ง ตัดต่อลำดับภาพบันทึกเสียงรวมถึงการปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ฟิล์มภาพยนตร์เพื่อให้ผลงานเป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้
๓. ปฏิบัติงานในเรื่องล้าง-อัดภาพและตรวจสอบความถูกต้องของภาพถ่าย ที่ถ่ายมาได้ เพื่อให้ได้มาซึ่งภาพถ่ายที่คมชัดและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานต่อไป
๔. ปฏิบัติงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับไมโครฟิล์ม เช่น ให้เลขรหัส บันทึกเอกสารลงใน ไมโครฟิล์ม รวมทั้งตรวจสอบและจัดเก็บ และจัดส่งไมโครฟิล์มให้บริษัทเอกชนที่รับจ้างล้าง เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
๕ จัดหมวดหมู่เก็บรักษาและควบคุมการเบิกจ่ายฟิล์มหรือเอกสารแผนที่ต่างๆ เพื่อให้การปฏิบัติดำเนินไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว
๖. ถ่ายภาพต่าง ๆ เพื่อประกอบการวิเคราะห์ วิจัยผลงานทางวิชาการ ทำแบบพิมพ์ต่าง ๆ
๗. ให้บริการสำเนาภาพถ่าย วีดีทัศน์ ภาพยนตร์ และไมโครฟิล์ม
๘. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การปฏิบัติงานสำเร็จลุล่วง ไปด้วยดี และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างเขียนแบบ

ปฏิบัติงานด้านช่างเขียนแบบ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่าง หนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบงานสถาปัตยกรรม งานแผนที่ งานวิศวกรรม โครงสร้าง และงานระบบต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนงานออกแบบของหน่วยงานต่าง ๆ
๒. ศึกษาข้อมูลของวัสดุก่อสร้าง เพื่อนำมาใร์ในงานเขียนแบบให้เกิดความสมบูรณ์
๓. ประมาณราคางานก่อสร้างของหน่วยงานราชการ เพื่อใข้ในการเปิดสอบราคา และนำไปสู่การก่อสร้างตามวัตถุประสงค์
๔. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบแก่ ผู้ร่วมงาน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงาน และให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
๕. ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ และประชาชนทั่วไป เพื่อให้บริการและให้ความ ช่วยเหลือในงานที่รับผิดชอบและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างศิลป์

ได้รับคุณวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งในสาขาวิชาวิจิตรคิลป็ หรือสาขาการออกแบบ
หน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติงานด้านช่างศิลป็ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่าง หนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
ด. ออกแบบงานศิลป็ บอร์ด ป้ายประกาศ ป้ายโฆษณา ฉาก เวทีของหน่วยงาน ผังสถานที่ สื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพ สวยงาม และสื่อความได้เป็นอย่างดี
๒. ดูแล จัดเก็บ บำรุงรักษา ซ่อมแชมวัสดุอุปกรณ์การทำงานให้เป็นระบบ เพื่อให้ อุปกรณ์อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ
๓. ให้คำแนะนำ การออกแบบ เทคนิค การจัดงานศิลป้ การจัดนิทรรศการแก,บุคลากร ทั้งภายในและภายนอก เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าในใจงานศิลป็
๔. ช่วยจัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ คู่มือ หนังสือ แผ่นพับและนิทรรศการ เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างภาพพจน์ และส่งเสริมการออกแบบงานศิลป็
๕. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การปฏิบัติงาน และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา

ปฏิบัติงานขั้นต้นในการขับเครื่องจักรกลขนาดเบา ตลอดจนบำรุงรักษาและแก้ไขข้อขัดข้อง เล็ก ๆ น้อย ๆ ของเครื่องจักรกลขนาดเบา และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง

ปฏิบัติงานขั้นต้นในการขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง ตลอดจนบำรุงรักษาและดูแลแก้ไข ข้อขัดข้องเล็ก ๆ น้อย ๆ ของเครื่องจักรกลขนาดกลาง และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก

ปฏิบัติงานขั้นต้นในการขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก ตลอดจนบำรุงรักษา และแกไขข้อขัดข้อง ที่เกิดขึ้นของเครื่องจักรกลขนาดหนัก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย


นิติกร

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงานเกี่ยวกับงานนิติการ ภายใต้การกำกับแนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. เสนอความเห็นแก่ผู้บังคับบัญชาในการตอบข้อหารือ หรือวินิจฉัยปัญหากฎหมาย เกี่ยวกับระเบียบของทางราชการที่มีผลกระทบต่อการดำเนินงานของหน่วยงานเพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนการพิจารณาของ ผู้บังคับบัญชา
๒. ศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยเพื่อปรับปรุงกฎหมาย และระเบียบเกี่ยวกับ หน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อให้ทันกับสถานการณ์และอำนวยความสะดวกในการทำงาน โดยพิจารณาถึงความ เหมาะสมและเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย
๓. ศึกษาข้อมูล รวบรวมแสวงหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย เสนอความเห็นในการ ดำเนินการเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับวินัยข้าราชการ การร้องทุกข์ การพิทักษ์ระบบคุณธรรม รวมถึงการ ดำเนินการใด ๆ ตามกฎหมายปกครองที่เกี่ยวข้องกับการบริหารราชการและการดำเนินคดีของหน่วยงาน
๔. ปฏิบัติงานฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการด้านกฎหมายเพื่อจัดประชุมเสนอ ความเห็น จัดทำระเบียบวาระ และรายงานการประชุม
๕. ให้คำแนะนำด้านกฎหมายแก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความ เข้าใจในข้อกฎหมายที่เป็นปัญหา และให้ความรู้ถึงข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องเป็นประโยชน์กับการดำเนินงานของ บุคคลหรือหน่วยงานดังกล่าว


นักวิชาการสิ่งแวดล้อม

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านวิชาการสิ่งแวดล้อม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ช่วยปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสำรวจ รวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประเมินผลข้อมูล และการดำเนินงาน ติดตามตรวจสอบ สภาวะแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดและปรับปรุง นโยบายแผน มาตรฐาน มาตรการ แนวทาง หลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบ เงื่อนไข กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งการสื่อสารและ การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างจิตสำนึกและส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชนใน การจัดการสิ่งแวดล้อม
๒. ช่วยติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ เสนอความเห็น เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม และวินิจฉัยข้อเท็จจริงเนี้องต้นเกี่ยวกับปัญหา สิ่งแวดล้อม
๓. ร่วมพัฒนาและถ่ายทอดองค์ความรู้ในการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อให้มิความรู้ความ เข้าใจและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ
๔. ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
๕. ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๖. ให้คำแนะนำ ชี้แจง และตอบปัญหาเกี่ยวกับงานวิชาการสิ่งแวดล้อม แก่ส่วนราชการ หน่วยงานเอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อให้ได้ความรู้และข้อมูลที่ต้องการ
๗. จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น จัดทำสถิติ รายงาน หรือฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเกี่ยวกับงาน วิชาการสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สนับสนุนภารกิจขิงส่วนราชการ และประโยชน์ในการพิจารณากำหนดและปรับปรุง นโยบาย แผน มาตรฐาน มาตรการ หลักเกณฑ์ กฎ ระเบียบ เงื่อนไข และกฎหมายที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สิ่งแวดล้อม


วิศวกรชลประทาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานวิศวกรรมชลประทาน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้
๑. ศึกษาพื้นที่ พิจารณาโครงการ สำรวจ ออกแบบงานชลประทาน ประมาณราคา ก่อสร้าง ปรับปรุง บำรุงรักษา ระบบชลประทาน เขื่อน ฝาย อาคารชลประทานประกอบอื่น ๆ จัดสรรนํ้า เพื่อให้ได้งาน ชลประทานที่มีคุณภาพตามวัตถุประสงค์การใช้งาน และตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ
๒. ศึกษาทดสอบ วิเคราะห์ และวิจัย สภาพนํ้า เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์เทคโนโลยี การ จัดการนํ้า บำรุงรักษา ระบบชลประทาน และการก่อสร้างเพื่อปรับปรุงและพัฒนาระบบชลประทานให้มี ประสิทธิภาพ
๓. ดำเนินการส่งเสริมการพัฒนาด้านการชลประทานและการมีส่วนร่วมขององค์กรผู้ใช้นํ้าใน พื้นที่โครงการชลประทานและลุ่มนํ้าเพื่อให้มีนํ้าใช้อย่างพอเพียง
๔. รวบรวมข้อมูลสถิติเกี่ยวกับงานชลประทาน หรือจัดทำฐานข้อมูล หรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมชลประทานเพื่อให้สอดคล้องและสนับสบุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการ พิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์มาตรการต่าง ๆ
๕. ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจงเกี่ยวกับงานวิศวกรรมชลประทานในความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์


นักวิชาการคอมพิวเตอร์

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยปฏิบัติหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ตังนี้
๑. ติดตั้งเครืองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูประบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวช้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพและสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน
๒. ประมวลผลและปรับปรุงแล้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้องแม่นยำและ ทันสมัย
๓. ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้องตรง ตามความต้องการและสภาพการใช้งานของหน่วยงาน
๔. เขยนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลที่ได้ วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๕. เขียนชุดคำสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แล้ไขความผิดพลาดของคำสั่ง เพื่อให้ระบบปฏิบัติการทำงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
๖. ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์ และระบบ ข้อมูลของหน่วยงานที่ไม่ซับซ้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และตรงตามความต้องการของหน่วยงาน
๗. ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์เพื่อให้ ได้ระบบงานประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงาน
๘. รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์และระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่องการ ติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อให้ได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของ หน่วยงาน
๙. ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่ เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคง ปลอดภัยของข้อมูลหรือระบบ
๑๐. ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วย ตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
๑๑. ดำเนินการฟิกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่ เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์
๑๒. ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่อง คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแก่ไขและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วิชาที่สอบ

เจ้าพนักงานธุรการ

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ โดยวิธีสอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เกี่ยวกับงานสารบรรณงานธุรการ งานการเงิน และบัญชี งานพัสดุงานบุคคล และระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฎทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยวิธีสอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ระบบ เครือข่าย และพระราชบัญญ้ตการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


เจ้าพนักงานประมง

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐0 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานประมง โดยวิธีสอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ประกอบด้วยความรู้พื้นฐานทางประมง ทรัพยากรสัตว์นํ้าและสิ่งแวดล้อม ในระบบนิเวศทางทะเลและชายส่ง การอนุรักษ์และพื้นฟูทรัพยากรสัตว์นํ้าและสิ่งแวดล้อม การดูแลการ ประกอบการประมงของผู้ประกอบอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าและชาวประมง ตามประกาศและกฎระเบียบ ของทางราชการ ปลอดภัย ตามมาตรฐานและไม่ทำลายสมดุลของสิ่งแวดล้อม
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


เจ้าพนักงานการเกษตร

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานการเกษตร โดยวิธีสอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้ด้านการเกษตรทั่วไป การใช้พื้นที่ทางการเกษตร การขยายพันธุและการปรับปรุงพันธุพืช เครื่องจักรเครื่องมือทางการเกษตร การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ที่เหมาะสมทางการเกษตร
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


นายช่างชลประธาน

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างชลประทาน โดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย การวิเคราะห์โครงสร้างเบื้องต้น การเขียนแบบวิศวกรรม การเขียนแบบวิศวกรรมด้วยคอมพิวเตอร์ การออกแบบและคำนวณโครงสร้างไม้และโครงสร้างเหล็ก วัสดุ ทางด้านวิศวกรรมและการทดสอบ การสำรวจเพื่อการก่อสร้าง การวิเคราะห์และประมาณราคางานก่อสร้าง การวางแผนและควบคุมงานก่อสร้าง หลักอุทกวิทยาเบื้องต้น หลักการชลประทานเบื้องต้น หลักการทาง ชลศาสตร์และการไหลในทางนํ้าเปิด
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นด้น


นายช่างโยธา

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างโยธา โดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย การวิเคราะห์โครงสร้างเบื้องต้น การเขียนแบบวิศวกรรม การเขียนแบบวิศวกรรมด้วยคอมพิวเตอร์ การออกแบบและคำนวณโครงสร้างไม้และโครงสร้างเหล็ก วัสดุ ทางด้านวิศวกรรมและการทดสอบ การสำรวจเพื่อการก่อสร้าง การวิเคราะห์และประมาณราคางานก่อสร้าง การวางแผนและควบคุมงานก่อสร้าง การบริหารงานโครงการก่อสร้าง
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


นายช่างสำรวจ

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างสำรวจโดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เกี่ยวกับช่างสำรวจ ได้แก่ การวัดมุม วัดระยะ วัดระดับ ลักษณะและขนาดของภูมิประเทศ การหาคำพิกัดของจุดตำแหน่งต่าง ๆ และการวางหมุดหลักฐาน หรือที่ หมายในการสำรวจ และความรู้ด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ด้านสำรวจ ตลอดจนสามารถใช้โปรแกรมเขียนแบบได้ เช่น Auto CAD หรือโปรแกรมสเปรคซีต เช่น Excel คำนวณงานสำรวจได้
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
สอบปฏิบัติ
ทดสอบปฏิบัติการตั้งกล้องวัดมุม การอ่านค่า การคำนวณด้วยมือ การอ่านค่าระดับและ คำนวณ การตรวจสอบกล้อง
สอบสัมภาษณ์
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


นายช่างเครื่องกล

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒0๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างเครื่องกลโดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย หลักการทำงานของเครื่องยนต์ การซ่อมบำรุงรักษาเครื่องจักร และยานพาหนะ หลักการทำงานของเครื่องสูบนํ้า และไฟฟ้าเบื้องต้น
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


นายช่างไฟฟ้า

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างไฟฟ้า โดยวิธี สอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานติดตั้ง ประกอบ ดัดแปลง ปรับปรุงบำรุงรักษา เครื่องมือ เครื่องใช้เกี่ยวกับไฟฟ้า
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


นายช่างไฟฟ้าสื่อสาร

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างไฟฟ้าสื่อสาร โดยวิธีสอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานช่างไฟฟ้าสื่อสาร ได้แก่ การออกแบบ ติดตั้ง สร้าง ซ่อม ทำการทดสอบเครื่องมือสื่อสารต่าง ๆ
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


นายช่างภาพ

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะ ตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐0 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างภาพ โดยวิธีสอบข้อเขียน ความรู้ทางการถ่ายภาพ การถ่ายวีดีทัศน์ การใช้เครื่องมือ อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ ความรู้ เกี่ยวกับนวัตกรรมทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการถ่ายภาพและ การถ่ายวีดีทัศน์
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑0๐ คะแนน)
สอบปฏิบัติ
๑) การถ่ายภาพนิ่งเพื่อการประชาสัมพันธ์
๒) การถ่ายวีดีทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ ระยะเวลา ๑๐ นาที
๓) การตัดต่อสารคดี ลำดับภาพ การบันทึกเสียง ระยะเวลา ๕ นาที
สอบสัมภาษณ์
จะทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจาก ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและ จริยธรรม เป็นต้น


นายช่างเขียนแบบ

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะ ตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐0 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างเขียนแบบ โดยวิธีสอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย ความรู้ความสามารถในการเขียนแบบ สถาปัตยกรรม วิศวกรรมโครงสร้าง งานภูมิทัศน์ งานระบบต่าง ๆ ความรู้เกี่ยวกับวัสดุก่อสร้าง ความรู้เกี่ยวกับการประมาณ ราคาเบื้องต้น ความรู้ความสามารถในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรม (Auto cad)
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
สอบปฏิบัติ
ทดสอบปฏิบัติการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์โปรแกรม (Auto cad)
สอบสัมภาษณ์
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจาก ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


นายช่างศิลป์

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะ ตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐0 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างคิลป้ โดยวิธีสอบข้อเขียน ความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบคิลป็ หลักการออกแบบ และความสามารถด้านการทำ คอมพิวเตอร์กราฟฟิก และ หรือ คอมพิวเตอร์กราฟฟิกอาร์ต
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
จะทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจาก ประวิติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์ เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและ จริยธรรม เป็นด้น


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งพนักงาน ขับเครื่องจักรกลขนาดเบา ในเนื้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. ๒๕๒๒ และความรู้ เกี่ยวกับการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะรวมถึงการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
สอบปฏิบัติ
ทดสอบการขับเครื่องจักรกลขนาดเบา เช่น รถบรรทุก ๖ ล้อ ๖ ตัน รถขุดขนาดเล็ก รถตักดิน หรือเครื่องจักรกลเบาชนิดอื่นๆ ที่มีใช้ในกรมชลประทาน เป็นต้น
สอบสัมภาษณ์
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติ ส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อ พิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งพนักงาน ขับเครื่อง จักรกลขนาดกลาง ในเนื้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัติ รถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. ๒๕๒๒ และ ความรู้เกี่ยวกับการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะรวมถึงการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
สอบปฏิบัติ
ทดสอบการขับเครื่องจักรกลขนาดกลาง เช่น รถลากพ่วงขนาดตั้งแต่ ๒๐ ตันลงมา รถกระบะเทความจุตั้งแต่ ๕ – ๑๐ ลูกบาศก์หลา หรือเครื่องจักรกลกลางชนิดอื่นๆ ที่มีใช้ในกรมชลประทาน เป็นต้น
สอบสัมภาษณ์
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติ ส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อ พิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐0 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งพนักงาน ขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก ในเนื้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชบัญญัตรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ พระราชบัญญัติการขนส่ง พ.ศ. ๒๕๒๒ และความรู้ เกี่ยวกับการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลและยานพาหนะรวมถึงการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
สอบปฏิบัติ
ทดสอบการขับเครื่องจักรกลขนาดหนัก เช่น รถลากรถพ่วงขนาดตั้งแต่ ๒๐ ตันขึ้นไป รถขุดดินทุกชนิดทุกขนาด หรือเครื่องจักรกลหนักชนิดอื่นๆ ที่มีใฃ้ในกรมชลประทาน เป็นต้น
สอบสัมภาษณ์
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติ ส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อ พิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


นิติกร

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะ ตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนิติกร โดยวิธี สอบข้อเขียน ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีใน ศาลปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ พระราชบัญญัติ ล้มละลาย พ.ศ. ๒๔๘๕
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน)
จะทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจาก ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการ สัมภาษณ์เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


นักวิชาการสิ่งแวดล้อม

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิชาการสิ่งแวดล้อม โดยวิธีสอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ความรู้พื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อม หลักการประเมินผล กระทบสิ่งแวดล้อม หลักการบริหารจัดการผลกระทบสิ่งแวดล้อม กฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม และเศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


วิศวกรชลประทาน

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งวิศวกรชลประทาน โดย วิธีสอบข้อเขียน ในเนื้อหาต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย วิชาหลักการชลประทาน และงานวางแผนและโครงการ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่างดิน นํ้า พืชการหาปริมาณการใช้นํ้าของพืชการกำหนดการให้นํ้าแกพืช ประสิทธิภาพการชลประทานการออกแบบระบบชลประทานความสำคัญของการวางโครงการ การวิเคราะห์ ความเหมาะสมของโครงการด้านต่าง ๆ การศึกษาผลกระทบของโครงการด้านต่าง ๆการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์โนงานวิศวกรรมชลประทานงานหลักอุทกวิทยา และงานวิศวกรรมชลศาสตร์ ได้แก่ ความสัมพันธ์ ระหว่างนํ้าฝน และนํ้าท่า การวิเคราะห์และออกแบบทางอุทกวิทยา การตรวจวัดทางอุทกวิทยา การไหลในทาง นํ้าเปิด การไหลในท่อ การออกแบบอาคารทางชลศาสตร์ การระบายนํ้า
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการสัมภาษณ์เพื่อพิจารณา ความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น


นักวิชาการคอมพิวเตอร์

ผู้สมัครต้องได้รับการประเมินสมรรถนะตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินสมรรถนะ ตามที่กำหนด ดังต่อไปนี้
๑. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๑ (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
ทดสอบความรู้ ความสามารถ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักวิชาการ คอมพิวเตอร์ โดยวิธีสอบข้อเขียน ความรู้เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ ชุดคำสั่งปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูป ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนางานประยุกต์ การใช้ภาษาทางคอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือในการพัฒนาระบบงาน และพระราชบัญญัติการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
๒. การประเมินสมรรถนะครั้งที่ ๒ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
จะทำการทดสอบโดยวิธีสอบสัมภาษณ์และการประเมินบุคคล โดยพิจารณาจาก ประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน และพฤติกรรมที่ปรากฏทางอื่น รวมทั้งจากการ สัมภาษณ์เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ บุคลิกภาพ ทัศนคติ ไหวพริบ อารมณ์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จิตสำนึกการให้บริการ คุณธรรมและจริยธรรม เป็นต้น

วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมชลประทาน  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 1 เม.ย. – 10 เม.ย. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กรมชลประทาน

แผนที่ file 1 | เว็บรับสมัคร

Facebook Comments