“กรมอุตุนิยมวิทยา “
ลิงค์: https://ehenx.com/17283/ หรือ
ตำแหน่ง: นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ,วิศวกรปฏิบัติการ,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน,นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,500-16,500
อัตราว่าง: 20
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: บัดนี้ – 2 ส.ค. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กรมอุตุนิยมวิทยา เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเขัารับราชการในตำแหน่งนักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ ตำแหน่งวิศวกรปฏิบัติการ ตำแหน่งนายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน ตำแหน่งนายช่างโยธาปฏิบัติงาน ตำแหน่งนายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน และตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
ด้วย กรมอุตุนิยมวิทยาจะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ ตำแหน่งวิศวกรปฏิบัติการ ตำแหน่งนายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน ตำแหน่งนายช่างโยธา ปฏิบัติงาน ตำแหน่งนายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน และตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบขัาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ.ที นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรือง การสรรหา โดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 5 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
วิศวกรปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 5 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 5 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรีหรือคุณจุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ กายภาพ สาชาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ หรือสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ และ เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ในระดับเดียวกันกับคุณอุฒิที่ใช้สมัครสอบหรือสูงกว่า ของสำนักงาน ก.พ.
วิศวกรปฏิบัติการ
ได้รับปริญญาตรืหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ และเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สมัครสอบหรือสูงกว่า ของสำนักงาน ก.พ.
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ และเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สมัครสอบ หรือสูงกว่าของสำนักงาน ก.พ.
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนืยบัตรวิขาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาโยธา สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาการก่อสร้าง และเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถ ทั่วไป ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สมัครสอบหรือสูงกว่า ของสำนักงาน ก.พ.
นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาขาวิชาเทคนิคโลหะ และเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สมัครสอบหรือสูงกว่า ของสำนักงาน ก.พ.
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันใน ทุกสาขาวิชา และเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สมัครสอบ หรือสูงกว่าของสำนักงาน ก.พ.
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องไซ้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านอุตุนิยมวิทยา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาชนิดต่าง ๆ แผนที่อากาศประเภทต่าง ๆ ภาพถ่ายจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาและดาวเทียมสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ ภาพหรือข้อมูลผลการตรวจฝน ด้วยเรดาร์ตรวจอากาศ รังสีดวงอาทิตย์ ปริมาณโอโซนในชั้นบรรยากาศ มลภาวะในอากาศ การตกสะสมของ กรดในนํ้าฝน ความสั่นสะเทือนพิภพ การหาศูนย์กลางแผ่นดินไหว ติดตามการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศ การเปลี่ยนแปลงของสารประกอบอุตุนิยมวิทยาทะเล เพื่อนำไปประยุกตไซ้ประโยชน์ ทางวิชาการอุตุนิยมวิทยา และในการพยากรณ์อากาศทั่วไป พยากรณ์อากาศเพื่อการเกษตร การคาดหมายรังสีอัลตราไวโอเลต พยากรณ์นํ้า พยากรณ์อากาศทะเล เพื่อการเดินเรือและการประมง รวมทั้งออกประกาศแผ่นดินไหวที่รู้สึกได้ ในประเทศ ออกคำเตือนวาตภัย อุทกภัย และภัยจากอากาศทุกชนิด แจ้งเตือนบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเตรียมการป้องกันและบรรเทาภัยจากธรรมชาติ เตรียมการป้องกันการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางภูมิอากาศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันต่อเหตุการณ์
(๒) ช่วยศึกษา ค้นคว้า และทดสอบ แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ แผนที่อากาศ ภาพถ่าย ดาวเทียมสำหรับงานอุตุนิยมวิทยา เพื่อการพยากรณ์อุตุนิยมวิทยาที่แม่นยำและมีประสิทธิภาพ
(๓) ช่วยศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย วิชาการด้านอุตุนิยมวิทยา เกี่ยวกับภูมิอากาศ อุตุนิยมวิทยาอุทก อุตุนิยมวิทยาทะเล ปรากฏการณ์ทะเล อุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร อุตุนิยมวิทยาการนิน รังสีดวงอาทิตย์ โอโซนในบรรยากาศ มลภาวะ การตกสะสมของกรดในนํ้าฝน แผ่นดินไหวและสึนามิ ภูมิฟิสิกส์ และสาขาวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มองค์ความรู้ใหม่ ๆ และนำไปปรับปรุงและพัฒนางานอุตุนิยมวิทยา ให้มีประสิทธิภาพ
(๔) จัดทำรายงานเอกสารและสถิติทางอุตุนิยมวิทยา เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านอุตุนิยมวิทยา แก่หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไป และนำไปประอุกตํใซ้ประโยชน์ในกิจการต่าง ๆ
(๔) ช่วยตรวจสอบเทียบเครื่องมือที่ใซ้ในกิจการอุตุนิยมวิทยา เพื่อให้มีความแม่นยำ เที่ยงตรง และถูกต้อง
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้ เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับซ้อมูล ข้อเท็จจริง แก,บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้บริการข่าวอากาศและข้อมูลอุตุนิยมวิทยาทั่วไป แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ ประชาชนทั่วไป รวมทั้งให้คำแนะนำ และเป็นวิทยากรบรรยายให้กับเจ้าหน้าที่ นักเรียน นักศึกษาผู้ที่สนใจ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในกิจการต่าง ๆ และเป็นการเผยแพร่ความรู้ต้านอุตุนิยมวิทยาแก,ผู้สนใจทั่วไป
(๒) ให้บริการด้านอุตุนิยมวิทยาการบิน ณ ท่าอากาศยาน และอุตุนิยมวิทยาทะเล โดยเฉพาะที่ท่าเรือ เพื่อความปลอดภัยในกิจการนั้น ๆ
(๓)ให้คำปรึกษา แนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวช้องกับหน้าที่ กับเพื่อนร่วมงาน เพื่อให้การปฏิบิตงานเป็นไปอย่างลูกต้องมีประสิทธิภาพ
วิศวกรปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏีป้ติงานด้านวิศวกรรม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ตรวจสอบแผนผัง แผนปฏิบัติการ โครงสร้าง รายการคำนวณ รูปแบบทาง วิศวกรรมต่าง ๆ ในงานที่รับผิดชอบให้ลูกต้องตามหลักกฎหมาย หลักวิชาการและมาตรฐานสากล เพื่อให้เกิด ความมั่นคงแข็งแรง ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
(๒) หาช้อมูลและตรวจสอบกรณีเกิดอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรม สถานประกอบการ การจราจรและขนส่ง เพื่อช่วยประสานการคู้ภัยและพิจารณาสั่งการให้เป็นไปตามกฎหมายที่เกี่ยวช้อง
(๓) ด้นคว้า ทดลอง และตรวจสอบการใช้พลังงานในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม ต่าง ๆ เพื่อการอบุรักษ์ ประหยัดและปลอดภัยในการใช้พลังงานของประเทศ
(๔) สำรวจ ออกแบบ วิเคราะห์ ค้นคว้า ทดสอบและตรวจสอบ ปริมาณนา คุณภาพน่า ระบบประปา และแหส่งนํ้าธรรมชาติ เพื่อปฏิบัติการอบุรักษ์ พินฟูแหล่งนี้าในเขตพื้นที่รับผิดชอบ
(๕) สาธิตและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกี่ยวกับงานวิศวกรรม และการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยประยุกต์เทคโนโลยีที่เหมาะสมจากฎมิปัญญาท้องถิ่นและเทคโนโลยีสากล เพื่อเพิ่มศักยภาพของท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมในงานวิศวกรรม และการจัดการกับสิ่งแวดล้อม
(๖) ตรวจสอบ ควบคุม กำกับ ดูแล การประกอบกิจการ เพื่อให้การดำเนินงานของ สถานประกอบการถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่วางไว้
(๗) ตรวจสอบ การขอจดทะเบียน การแจ้ง การขออบุญาต ตั้ง ขยาย ย้าย ยกเลิก ต่อใบอนุญาต การประกอบกิจการ เพื่อให้การประกอบกิจการเป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่กำหนด
(๘) ปฏิบัติงาน กำกับดูแลการช่อมบำรุงรักษา ผลิต และสอบเทียบเครื่องมือและอุปกรณ์ วิทยาศาสตร์ ระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสรและเครื่องจักรกล เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๙) ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล ออกแบบ และกำหนดรูปแบบรายการ เครื่องมือ และ อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ระบบไฟฟ้า ระบบสื่อสาร และเครื่องจักรกล เพื่อการผลิตและการพัฒนาและปรับปรุง ประสิทธิภาพการทำงาน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋พี่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจในการดำเนินงานตามที่ไต้รับมอบหมาย
๔, ต้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานวิศวกรรมต่าง ๆ ที่อผู่ในความ รับผิดชอบในระดับเบื้องต้นแก,ผู้ประกอบการ หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจ ได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานวิศวกรรมต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องและสนับสบุนภารกิจของหน่วยงาน และใซัประกอบการ พิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ
เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ
นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างไฟฟ้า ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่Iด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษซิ ดัดแปลง ปรับปรุง ควบคุม การใช้งาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบ เครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลซ่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่าง ต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของหน่วยงานภายและภายนอก
(๒) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผน บำรุงรักษา
(๓) ปรับเทียบค่ามาตรฐานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการออกใบรับรองตามที่ หน่วยงาน หรือกฎหมายกำหนด
๒. ด้านบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการ ทั้งภายใน และภายนอกหน่วยงาน เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างลูกต้องและมีประสิทธิภาพ
(๒) ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อ ประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างโยธา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่!ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏีบตงานในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อให้ ตรงตามหลักวิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงาน และงบประมาณที่!ด้รับ
(๒) ตรวจสอบ แก่ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
(๔) ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับ มอบหมาย พ่ร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
(๕) รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในงานด้านช่าง
๒. ด้านบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และฝ็กอบรมเกี่ยวกับงานโยธาที่ตนมีความรับผิดชอบ แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ ผู้ที่สนใจได้รับทราบข้อมูล ความรู้ต่าง ๆ และมีทักษะเหมาะสมแกการปฏีบัดิงาน
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลอและร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อ การทำงานของหน่วยงานและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่!ด้รับมอบหมาย
นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใฃ้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างเครื่องกล ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่!ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ดำเนินการตรวจสอบ บำรุงรักษา ช่อมแซมแก้ไข ปรับปรุง เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เครื่องมือ อปกรณ์ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้พร้อมใช้อย่เสมอ
(๒) ดำเนินการออกแบบ เขียนแบบเครื่องกล การผลิตชิ้นส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ ติดตั้ง ทดลอง ทดสอบ สอบเทียบเครื่องมือ ประมาณราคาเครื่องจักรกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพและเหมาะสมกับการใช้งาน
(๓) สำรวจ รวบรวมข้อมูล จัดทำสถิติ ประวัติการบำรุงรักษา การซ่อมเครื่องจักรกล เครื่องมือกล ยานพาหนะ และงานด้านเครื่องกล เพื่อเป็นข้อมูลหลักฐานสำหรับนำไปใช้ในการพัฒนา ปรับปรุงงาน
๒. ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
(๒) ให้คำแนะนำและบริการแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจ ในการทำงาน
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จ้าเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏีบ้ติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ต้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือโต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสบุน่ให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวก ราบรื่นและมีหลักฐานตรวจสอบได้
(๖) รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวกต่อการด้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ ใช้งานและอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
(๔) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒. ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒)ให้บริการข้อมูลแกผู้มาติดต่อราชการเพื่อให้1ด้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
(๓) ผลิตเอกสารต่าง ๆ เพื่อสนับสบุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน และปฏิบัติ หน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่Iด้รับมอบหมาย
วิชาที่สอบ
นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
ทดสอบเพื่อวัดความเช้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ โดยวิธีสอบ ข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังนี้
วิชาฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ และอุตุนิยมวิทยา
(๑) ทดสอบความรู้พื้นฐานทางฟิสิกส์เกี่ยวกับเวกเตอร์ แรงและสมดุล จลศาสตร์ พลศาสตร์ งานและพลังงานกลศาสตร์ คลื่น เทอร์โมไดนามิกส์
(๒) ทดสอบความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับ พีชคณิตเชิงเล้นและเมตริกซ์ แคลคูลัส เรขาคณิตวิเคราะห์ ความน่าจะเป็น และสถิติ
(๓) ทดสอบความรู้เกี่ยวกับอุตุนิยมวิทยาเบื้องต้น
วิศวกรปฏิบัติการ
ทดสอบเพื่อวัดความรู้ทั่วไปทางด้านวิศวกรรม โดยวิธีสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ด้งนี้
(๑) การออกแบบและติดตั้งระบบไฟฟ้ากำลัง
(๒) ระบบไฟฟ้าและการควบคุมมอเตอร์
(๓) ระบบอิเล็กทรอนิกส์กำลัง
(๔) วิศวกรรมควบคุมแบบอิเล็กทรอนิกส์
(๕) วงจรและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
(๖) เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
(๗) ระบบสื่อสารและโทรคมนาคม
(๘) กลศาสตร์วิศวกรรม
(๙) การจัดการด้านวิศวกรรม
(๑๐) การอนุรักษ์พลังงาน
นายช่างไฟทดสอบเพื่อวัดความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายซ่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน โดยวิธีสอบ ข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังนี้
(๑) ความรู้พื้นฐานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
(๒) ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอลและคอมพิวเตอร์
(๓) ความรู้พื้นฐานระบบเครื่องรับ – ส่งวิทยุโทรศัพท์ ระบบสื่อสารด้วยระบบเล้นใยนำแสง ระบบไมโครเวฟ ระบบสายส่ง ระบบสายอากาศ การกระจายคลื่นความถี่วิทยุ ระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียม
(๔) ความรู้พื้นฐานระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบอินเตอร์เน็ต ระบบ มัลดิมีเดียเทคโนโลยีสารสนเทศ
(๔) ระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบมอเตอร์ไฟฟ้า ระบบแสงสว่าง และเครื่องปรับอากาศ
(๖) การวิเคราะห์ และคำนวณหาค่าวงจรไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์
ฟ้าปฏิบัติงาน
นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ทดสอบเพื่อวัดความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างโยธาปฏิบัติงาน โดยวิธีสอบ ข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังนี้
(๑) ทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไปเกี่ยวกับงานด้านโยธา ได้แก่ การเขียนแบบ ประมาณ ราคาก่อสร้าง การบริหารงานก่อสร้าง การตรวจและการควบคุมการก่อสร้างอาคาร ถนน งานสาธารณูปโภค และการทดสอบวัสดุ
(๒) ทดสอบความรู้เกี่ยวกับการสำรวจและการเขียนแผนที่ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ เครื่องหมายและมาตรฐานในการทำแผนที่
(๓) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้าง และการปริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน
ทดสอบเพื่อวัดความเช้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งนายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน โดยวิธีสอบ ข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังนี้
(๑) กลศาสตร์และความแข็งแรงวัสดุ
(๒) วัสดุช่างและโลหะวิทยาในงานเชื่อม
(๓) การตรวจสอบและการทดสอบวัสดุในงานอุตสาหกรรม
(๔) กระบวนการเชื่อมและเทคโนโลยีการเชื่อมโลหะ
(๔) การออกแบบและเทคโนโลยีแม่พิมพ์โลหะ
(๖) การอ่านแบบและการเขียนแบบเครื่องกล
(๗) ความปลอดภัยและการควบคุมมลพิษ
เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
ทดสอบเพื่อวัดความเช้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน โดยวิธีสอบ ข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ดังนี้
(๑) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๔๖๖ และที่แก้1ขเพิ่มเดิม
(๒) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. ๒๔๔๔
(๓) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความลับทางราชการ พ.ศ. ๒๔๔๔ และ ที่แก้1ขเพิ่มเดิม
(๔) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๔๔๐
(๔) ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๖๔๔๖ และ ที่แก้!.ขเพิ่มเดิม
(๖) พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๔๖๐
(๗) พระราชบัญญัติจดหมายเหตุแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๔๖
(๘) ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน
วิธีการสมัครงานข้าราชการ กรมอุตุนิยมวิทยา :สมัครทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ บัดนี้ – 2 ส.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กรมอุตุนิยมวิทยา
แผนที่ file 1 | เว็บรับสมัคร