“ศูนย์การทหารราบ“
ลิงค์: https://ehenx.com/12304/ หรือ
ตำแหน่ง: นายทหารประทวน
ระดับการศึกษา: ม.ต้น,ม.ปลาย
อัตราเงินเดือน: –
อัตราว่าง: 250
ปฏิบัติงานที่: ประจวบคีรีขันธ์ (ศูนย์การทหาราบ)
เปิดรับสมัครตั้งแต่: บัดนี้ – 25 ม.ค. 2564
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
ศูนย์การทหารราบ เปิดรับสมัคร
เรื่อง การรับสมัครและสอบคัดเลือกทหารกองหนุนเช้ารับราชการเป็นนายทหารประทวน เพื่อบรรจุเช้ารับราชการในหน่วยกำลังรบ และสนับสบุนการรบ เหล่าทหารราบ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔
กองทัพบก มีกำหนดรับสมัครและสอบคัดเลือกทหารกองหนุนเข้าเป็นนายทหารประทวน เหล่าทหารราบ (อัตรา สิบเอก) เพื่อบรรจุเข้ารับราชการยังหน่วยในส่วนกำลังรบ และสนับสนุนการรบ จำนวน 250 อัตรา โดยแบ่งโควตาปกติ (เหล่าทหารราบ) จำนวน 125 อัตรา และโควตาทหารกองประจำการ ที่สมัครใจขอเลื่อนปลด (โม่จำกัดเหล่า) จำนวน 125 อัตรา โดยมีรายละเอียด ดังนี้.-
นายทหารประทวน
อัตราว่าง : 250 อัตรา
คุณวุฒิ : ม.ต้น,ม.ปลาย
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
นายทหารประทวน
1. ประเภทของผู้สมัคร แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้-
- 1.1 โควตาทั่วไป (เหล่าทหารราบ) เป็นทหารกองหนุนประเภทที 1 ที1เคยรับราชการ เป็นทหารกองประจำการในสังกัดกองทัพบก เหล่าทหารราบ อย่างน้อย 1 ปี หรือเป็นทหารกองประจำการ ในสังกัดกองทัพบก เหล่าทหารราบ ที่รับราชการมาแล้ว อย่างน้อย 1 ปี และจะครบกำหนดปลดเป็นทหาร กองหนุนชั้นที่ 1 ใน 30 เมษายน 2564 อายุไม่เกิน 25 ปี ในปี พ.ศ. 2564
- 1.2 โควตาทหารกองประจำการที่เลือนปลด (ไม่จำกัดเหล่า) เป็นทหารกองประจำการ ในสังกัดกองทัพบก (ไม่จำกัดเหล่า) ที่สมัครใจขอเลื่อนกำหนดเวลาปลดจากกองประจำการ ประจำปี 2563 (ครบกำหนดปลดประจำการ 1 พ.ค. 63 และสมัครใจขออยู่รับราชการต่ออีก 1 ปี) ซึ่งจะครบกำหนดปลด เป็นทหารกองหนุนชั้นที่ 1 ใน 30 เมษายน 64 ไม่จำกัดอายุ
2. คุณสมบัติทั่วไป
- 2.1 มีความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างสูงสุด และมีทัศนคติที,ดีต่อ กองทัพบกรวมทั้งยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข
- 2.2 มีสัญชาติไทย และบิดา มารดา มีสัญชาติไทย โดยการเกิด แต่ล้าบิดาเป็นนายทหาร สัญญาบัตร หรือ นายทหารประทวน ซึ่งมีสัญชาติไทยโดยการเกิดแล้ว มารดาจะมิใช่เป็นผู้มีชาติไทยโดยการเกิดก็ได้
- 2.3 มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง และมีอวัยวะ รูปร่าง ลักษณะท่าทาง และขนาดพิกัดของ ร่างกายเหมาะสมกับการเป็นทหาร ไม่มีโรคหรือความผิดปกติหรือความพิการที,ขัดต่อการรับราชการ และ มีคุณสมบัติครบล้วนตามพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พุทธศักราช 2497 และฉบับที่แกิไขเพิ่มเดิม
- 2.4 เป็นโสดและไม่เคยมีภรรยาหรือสัมพันธ์กับหญิงอื่นฐานะสามีภรรยามาก่อน
- 2.5 ไม่อยู่ในสมณเพศ
- 2.6 ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรม
- 2.7 ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
- 2.8 ไม่เป็นผู้อยู่ระหว่างเป็นจำเลยในคดีอาญาหรือไม่เป็นผู้เคยต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษา ถึงที่สุดให้จำคุก เพราะกระทำผิดทางอาญา เว้นแต่โทษความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือ ความผิดลหุโทษ
- 2.9 ไม่เป็นผู้ที่อยู่ในระหว่างพักราชการ เนื่องจากความผิดหรือหนีราชการ
- 2.10 ไม่เคยเป็นผู้ลูกปลดเพราะความผิด หรือถูกไล่ออกจากราชการ
- 2.11ไม่เคยทำการทุจริตในการสมัครสอบคัดเลือกเข้าเป็นข้าราชการทหารมาก่อน
- 2.12 ไม่มีรอยสักหรือแผลเป็นที่ดูน่ารังเกียจ ไม่มีร่องรอยการเจาะหู ทั้งนี้[ห้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการรับสมัคร และคณะกรรมการตรวจร่างกาย และตรวจโรค พิจารณาแล้วว่าเหมาะสมไม่ส่งผล กระทบในเชิงลบต่อภาพลักษณ์ของ ทบ. ดังนี้.- (รายละเอียดเพิ่มเติมในระเบียบการสอบคัดเลือกฯ ผนวก ก และ ผนวก ข)
- 2.12.1 ผู้สมัครตามข้อ 1.1 อนุโลมให้ผู้ที่มีรอยสักในร่มผ้าซึ่งมองไม่เห็นได้จาก ภายนอก เมื่อแต่งกายชุดกีฬา (เสื้อยืดคอวีแขนสั้น กางเกงกีฬาขาสั้น ถุงเท้าและรองเท้ากีฬา)
- 2.12.2 ผู้สมัครตามข้อ 1.2 อนุโลมให้ผู้ที่มีรอยสักในร่มผ้าซึ่งมองไม่เห็นได้จาก ภายนอก เมื่อแต่งกายเครื่องแบบปกติกากีแกมเขียวคอพับแขนยาว
3. คุณสมบัติเฉพาะ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้.-
3.1 โควตาทั่วไป (เหล่าทหารราบ)
3.1.1 เป็นทหารกองหนุนชั้นที่ 1 ที่เคยรับราซการเป็นทหารกองประจำการในสังกัด กองทัพบก เหล่าทหารราบ อย่างน้อย 1 ปี หรือเป็นทหารกองประจำการที่รับราขการในสังกัดกองทัพบก เหล่าทหารราบ มาแล้วอย่างน้อย 1 ปี และครบกำหนดปลดเป็นทหารกองหนุนชั้นที่ 1 ใน 30 เมษายน 64 โดยมีอายไม่เกิน 25 ปี (รับผู้ที่เกิดตั้งแต่ พ.ศ. 2539) และไม่รับสมัครทหารกองหนุนที่สำเร็จการศึกษา หลักสูตรนักศึกษาวิชาทหาร และทหารกองประจำการที่สมัครรับราชการต่อระยะเวลาเกิน 30 เมษายน 64
3.1.2 สำเร็จการศึกษาไม,ตากว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
จากสถานศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.), สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) หรือ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ให้การรับรอง (สำหรับทหาร
กองประจำการ หากอยู่ระหว่างรอผลการศึกษา ไม่สามารถสมัครสอบคัดเลือกได้)
3.2 โควตาทหารกองประจำการที่สมัครใจขอเลื่อนปลด (ไม่จำกัดเหล่า)
3.2.1 เป็นทหารกองประจำการที่รับราชการในสังกัดกองทัพบก (ทุกเหล่าทหารบก) ที่สมัครใจขอเลื่อนกำหนดเวลาปลดจากกองประจำการ ประจำปี 2563 (ครบกำหนดปลดประจำการ 1 พ.ค. 63 และสมัครใจขออยู่รับราชการต่ออีก 1 ปี) ซึ่งจะครบกำหนดปลดเป็นทหารกองหนุนชั้นที่ 1 ใน 30 เมษายน 64 โดยไม่จำกัดอายุ
3.2.2 สำเร็จการศึกษาไม่ตากว่าระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จากสถานศึกษาที่
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาชั้นพื้นฐาน (สพฐ.) หรือ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ให้การรับรอง (สำหรับทหารกองประจำการ หากอยู่ระหว่างรอผลการศึกษา ไม่สามารถสมัครสอบคัดเลือกได้)
3.2.3 มีสิทธิได้รับคะแนนเพิ่มพิเศษ ร้อยละ 5 ตามที่ ทบ. กำหนด
3.2.4 คุณสมบัติอื่น ๆ ให้ปฏิบัติตามแนวทางของโควตาทั่วไปทุกกรณี
4. หลักฐานในการขอรับสิทธิคะแนนเพิ่ม
หลักฐานขอรับสิทธิคะแนนเพิ่มด้านการทหารของผู้สมัครที่มีความประสงค์ขอรับสิทธิคะแนนเพิ่ม ต้องยื่นแสดงความจำนงในการยื่นหลักฐานการขอรับสิทธิ คะแนนเพิ่ม ด้วยตนเองในวันที่ยื่นใบสมัคร (ทหารกองประจำการซึ่งสมัครใจขอรับราชการในกองประจำการต่อ เพื่อทดแทนการเรียกเกณฑ์ โดยให้เพิ่มคะแนนเป็นพิเศษ ร้อยละ 5 จากที่ ทบ. กำหนด และมีผลบังคับใช้กับ ทหารกองประจำการที่สมัครใจขอเลื่อนกำหนดเวลาปลดฯ (ครบกำหนดปลดประจำการ 1 พ.ค. 63 และสมัครใจ ขออยู่รับราชการต่ออีก 1 ปี)) โดยให้หน่วยต้นสังกัดออกหนังสือรับรองในการขอรับราชการต่อ และให้ระบุวันที่ ขอสมัครใจเข้ารับราชการต่อ และวันที่ปลดออกจากราชการทหารด้วย
5. ข้อกำหนด
5.1 ผู้ที่มีคุณวุฒิสูงกว่าที่กำหนดไวในข้อ 3.1.2 และ 3.2.2 จะใช้คุณวุฒิต่างๆ ที่สูงกว่านั้น มาเรียกร้องสิทธิบรรจุตามคุณวุฒิที่ตนมีอยู่ไม่ได้
5.2 เมื่อผ่านการสอบคัดเลือกแล้ว จะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเข็นนายทหาร ประทวน ตำแหน่ง ประจำ ศูนย์การทหารราบ ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 โดยได้รับยศ สิบตรี (อัตราเงินเดือน ป.1 ชั้น 13.5) ซึ่งจะได้รับเงินเดือนรวมค่าครองชีพ และได้รับเครื่องแต่งกายตามที่กองทัพบกกำหนด
5.3 เมื่อได้รับการบรรจุแต่งตั้งยศ ตามข้อ 4.2 แล้ว จะต้องเข้ารับการฟิกอบรมหลักสูตร ระยะสั้นประมาณ 5 เดือน หลังจากสำเร็จการฟิกอบรมแล้ว จะได้รับการปรับย้ายไปรับราชการในหน่วยต่างๆ ของส่วนกำลังรบ และสนับสนุนการรบ ตามผลการฟิกอบรม และความเหมาะสม กรณีไม่สำเร็จการฟิกอบรม กองทัพบก จะดำเนินการตามมาตรการทางการปกครอง ทางวินัย หรืออาจจะดำเนินการให้ออกจากราชการได้
5.4 กรณีการตรวจสอบวุฒิการศึกษา และประวัติอาชญากรรม หากตรวจพบภายหลังว่า ไม่ถูกต้อง จะถูกปลดออกจากราชการทันที
5.5 เมื่อตรวจพบในภายหลังว่าผู้สมัครไม่แจ้งข้อมูล และคุณสมบัติของผู้สมัครต่อหน่วย รับการบรรจุตามความเข็นจริง หน่วยรับการบรรจุ จะถือว่าผู้สมัครแจ้งข้อมูลอันเข็นเท็จต่อทางราชการ อันก่อให้เกิดความเสียหายต่อกองทัพบกภายหลัง ดังนั้น หน่วยรับการบรรจุ จะสงวนสิทธโนการพิจารณาไม่รับ บรรจุภายหลังได้ และจะพิจารณาแจ้งความดำเนินคดีตามกฎหมายตามสมควรต่อไปด้วย
5.6 กรณีมีการตรวจพบการใซ้สื่อสังคมออนไลนํไปในทางที,ทำให้เกิดความเสื่อมเสียต่อ สถาบันชาติ, ศาสนา, พระมหากษัตริย์ และกองทัพบก ในภายหลังจะถูกปลดออกจากราชการทันที
6. หลักฐานประกอบการรับสมัคร
- 6.1 หลักฐานทางพลเรือน
- 6.1.1 รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวกและไม1สวมแว่นตา ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 6 รูป (ไม่เกิน 3 เดือน) หากเป็นทหารกองประจำการให้แต่งกายเครื่องแบบตามสังกัด บุคคลทั่วไปสวมเสื้อคอปกสีขาว
- 6.1.2 บัตรประจำตัวประชาชนผู้สมัครที่ยังไม่หมดอายุ
- 6.1.3 ทะเบียนน้านของผู้สมัคร บิดา มารดา
- 6.1.4 หลักฐานการศึกษา (ใบสุทธิ, ระเบียบแสดงผลการศึกษาหรือใบประกาศนียบัตร)
- 6.1.5 หลักฐานอื่นๆ ที,ยืนยันตัวตน และสัญชาติผู้สมัคร และบิดา มารดาของ ผู้สมัคร เข่น หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ สกุล, ทะเบียนสมรส, ทะเบียนหย่า, ใบมรณะบัตร และใบสูติบัตร
- 6.2 หลักฐานทางทหาร
- 6.2.1 ทะเบียบกองประจำการ สด.3 หรือ หนังสือสำคัญ สด.8 สำหรับทหาร กองประจำการ ให้แนบ สด.43 ด้วย
- 6.2.2 ใบสำคัญทางการแพทย์ทหาร (ทบ.466-620) ให้แพทย์ระบุว่า “ไม่เป็นโรค ที่ขัดต่อการรับราขการทหาร” ที่ออกโดย โรงพยาบาลทหาร สังกัด ทบ. เท่านั้น
- 6.2.3 หนังสือรับรองผู้บังคับบัญชา ระบุ ห้วงเวลาที,ประจำการ และเข็นผู้มีความ ประพฤติดี (นับตั้งแต่วันออกไม่เกิน 6 เดือน)
- 6.2.4 หนังสือรับรองผลการตรวจสอบทัศนคติจากหน่วยด้นสังกัด (โดยใส่ซองปิดผนึก และประทับตราปิดด้านหลังให้เรียบร้อย)
- 6.3 หลักฐานตามข้อ 6.1 และ 6.2 ดำเนินการถ่ายเอกสารโดยใช้กระดาษ ขนาด เอ 4 อย่างละ 1 ฉบับ พร้อมรับรองสำเนา และนำฉบับจริงมาแสดงต่อเจ้าหน้าที่รับสมัครด้วย ทั้งนี้ สำเนาเอกสารต่างๆ จะต้องชัดเจน ไม่เลือนราง หรือ มีร่องรอยขูดลบ ขีดฆ่า
7. การสมัครสอบ
7.1 เขียนใบสมัครสอบให้ถูกต้องและชัดเจน ตามแบบตัวอย่างที่หน่วยรับสมัครติดไว้ และ หลักฐานที่นำมาใช้สมัครสอบต้องเป็นหลักฐานที่เป็นจริง ถ้าหากตรวจพบว่าเอกสารเป็นเท็จ จะต้องถูก ดำเนินคดีตามกฎหมายจนถึงที่สุด โดยให้ตรวจสอบความถูกต้องของใบสมัครสอบกับเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ก่อนยื่นหลักฐานใบสมัครสอบ และยื่นหลักฐานให้กับเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เพื่อออกบัตรประจำตัวสอบ
7.2 ตรวจสอบความถูกต้องของบัตรประจำตัวสอบ พร้อมกับรับเอกสารประกอบการ สมัครสอบฉบับจริงคืน (กรรมการรับสมัครสอบจะเก็บเฉพาะฉบับสำเนาไว้เป็นหลักฐาน)
7.3 ตรวจสอบเอกสารฉบับจริงอีกครั้ง หากยังไม,ได้รับคืน ให้ติดตามสอบถามกับ กรรมการรับสมัครสอบ ในวันนั้น หากมีเอกสารสำคัญสูญหายไป คณะกรรมการจะไม่รับผิดชอบ
7.4 เมื่อได้รับบัตรประจำตัวสอบแล้ว ต้องจดจำหมายเลขประจำตัวสอบ และนำบัตร
ประจำตัวสอบติดตัวตลอดในห้วงการสอบ ถ้าไม่มีบัตรประจำตัวสอบแสดงต่อคณะกรรมการ “จะไม่มีสิทธิเข้าสอบ”
7.5 กรณีทำบัตรประจำตัวสอบหาย ให้แจ้งความที่สถานีตำรวจ จากนั้นนำหลักฐาน ใบรายงานประจำวัน รับแจ้งเอกสารหาย, สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ยื่นเรื่องที่ กองกำลังพล ศูนย์การทหารราบ เพื่อขออนุมัติผู้บัญชาการศูนย์การทหารราบ (ประธานคณะกรรมการฯ) ออกบัตรแทน
7.6 การแต่งกาย ชุดสุภาพใส่รองเท้าทุ้มล้น ห้ามสวมเสื้อยืดรองเท้าแตะ (กรณียังไม่ปลด ประจำการแต่งกายชุดเครื่องแบบ)
8. กำหนดเวลาการรับสมัคร การสอบคัดเลือกและการประกาศผลสอบ
8.1 การรับสมัคร (สมัครสอบ พร้อมกับตรวจร่างกายเบื้องต้นจากคณะกรรมการรับสมัคร) ในวันที, 15 – 25 กุมภาพันธ์ 2564 เวลา 0800 – 1600 น. (เว้นวันหยุดราชการ) ณ แหล่งสมาคม นายทหาร ค่ายธนะรัชต์ การแต่งกาย ชุดสุภาพ (กางเกงสเล็คลีดำ, เสื้อคอปกแขนยาวสีขาว, รองเท้าทุ้มสัน) ทหารกองประจำการ ชุดฟิกพราง (มาสมัครด้วยตนเองเท่านั้น พร้อมหลักฐานประกอบการรับสมัคร) โดยกำหนดการรับสมัคร แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้.-
8.1.1 โควตาทั่วไป (บัตรประจำตัว กำหนดเป็น ลืฟ้า)
8.1.2 โควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลด (บัตรประจำตัว กำหนดเป็น สึแดง)
8.2 การสอบคัดเลือก
8.2.1 การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย ในวันที่ 9 – 10 มีนาคม 2564
เวลา 0600 – 1600 (สำหรับกลุ่ม ลำดับ วันและเวลา จะแจ้งให้ทราบภายหลัง โดยเรียงตามหมายเลข ผู้สมัคร) โดยผู้สมัครต้องเช้ารับการทดสอบสมรรถภาพร่างกายด้วยท่ามาตรฐานตามที, กองทัพบก กำหนด จำนวน 5 ท่า (ดันพื้น, ลุกนั่ง และดึงข้อ ภายในเวลา 2 นาที, วิ่ง ระยะทาง 2 กิโลเมตร ภายในเวลา 11 นาที และว่ายนั้า 50 เมตร ภายในเวลา 2 นาที 10 วินาที) ซึ่งผู้สมัครสอบจะต้องเข้ารับการทดสอบให้ ครบทุก ชันตอน และปฏิบัติไต้ถูกต้องตามที่คณะกรรมการกำหนดจึงจะได้รับการบันทึกคะแนน ซึ่งเกณฑ์การทดสอบ ร้อยละ 55 ขึ้นไปของทุกท่าหากปฏิบัติในท่าใดไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนด จะได้คะแนนเป็น “0 คะแนน” ในท่านั้นๆ โดยมีรายละเอียด ดังนี้.- (รายละเอียดเพิ่มเดิมในระเบียบการสอบคัดเลือกฯ ผนวก ก และ ผนวก ค)
8.2.1.1 สถานที่สอบ สนามกีฬากลาง และสระว่ายนํ้า ศูนย์การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์
8.2.1.2 การแต่งกาย ชุดกีฬา เสื้อยืดคอกลมสีขาว กางเกงกีฬาสีดำ
8.2.1.3 การแบ่งผู้เข้ารับการทดสอบฯ โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้.-
8.2.1.3.1 กลุ่มโควตาทั่วไป
8.2.1.3.2 กลุ่มโควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลด
8.2.2 การประกาศผลสอบรอบแรก (ทดสอบสมรรถภาพร่างกาย)
ในวันที่ 12 มีนาคม 2564 เวลา 0800 – 1800 น. ศูนย์การทหารราบ จะประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านการสอบ รอบแรก (เรียงตามหมายเลขผู้สมัคร มิใช่เรียงตามลำดับคะแนนที่สอบได้) ทางเว็บไซต์ ศูนย์การทหารราบ http://infantry-center.rta.mi.th และปิดประกาศ ณ แหล่งสมาคมนายทหาร ค่ายธนะรัชต์ อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ โดยประกาศผลสอบฯ จำนวน 500 นาย แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้.-
8.2.2.1. กลุ่มโควตาทั่วไป จำนวน 250 นาย
8.2.2.2. กลุ่มโควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลด จำนวน 250 นาย
8.2.3 การสอบคัดเลือกภาควิชาการ
วันที่ 21 มีนาคม 2564 เวลา 0800 – 1200 (รายงานตัวเวลา 0800 – 0930 น. และ สอบคัดเลือกฯ เวลา 1000 – 1200 น. ซึ่งวิชาที่สอบคัดเลือกภาควิชาการ จำนวน 6 วิชา รวม 100 ข้อ ได้แก่ วิชาคณิตศาสตร์, วิชาภาษาอิงกฤษ, วิชาภาษาไทย, วิชาความรู,ทั่วไป (ระดับความรู้ไม,เกินมัธยมศึกษาตอนปลาย), วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย และ วิชาทหารราบ (ความรู้เบื้องต้นในหลักสูตรการฟิกทหารใหม่ เหล่าทหารราบ) โดยมีรายละเอียด ดังนี้.- (รายละเอียดเพิ่มเดิมในระเบียบการสอบคัดเลือกฯ ผนวก ก)
8.2.3.1 สถานที่สอบ มหาวิทยาลัยราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขต วังไกลกังวล อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์
8.2.3.2 การแต่งกาย ชุดสุภาพ (กางเกงสเล็คลีดำ, เสื้อคอปกแขนยาว ลีขาว, รองเท้าหุ้มส้น) ทหารกองประจำการ ชุดฟิกพราง
8.2.3.3 การเตรียมตัวของผู้สมัครสอบ เตรียมบัตร “ประจำตัวสอบ” และ “บัตรประจำตัวประชาชน” มาในวันสอบคัดเลือกๆ ทุกครั้ง และตรวจสอบที,นั่งสอบที่ระบุในบัตร ประจำตัวสอบให้ถูกต้อง โดยให้นำดินสอดำอย่างอ่อน (2 บี) และยางลบ มาใช้ทำข้อสอบด้วย
8.2.3.4 การเช้าห้องสอบ เวลา 09.30 น. ให้พร้อมที่หน้าห้องสอบของ ตัวเองเข้าแถวเรียงตามลำดับหมายเลขประจำตัวสอบ โดยให้ดำเนินการปฏิบัติ ดังนี้.-
8.2.3.4.1 ห้าม นำอุปกรณ์สื่อสารที่ไม่เกี่ยวข้องกับการสอบ เช่น เครื่องคิดเลข, นาฬิกาที่เป็นเครื่องคิดเลข, โทรศัพท์มือถือ, นาฬิกาสมาร์ทวอทช์ หรือ เครื่องมือสื่อสาร แบบพกพาทุกชนิด นำเข้าไปในห้องสอบ โดยเด็ดขาด ซึ่งกรรมการควบคุมการสอบจะเรียกเข้าห้องสอบ ตามลำดับ ให้นั่งตามผังที่นั่งสอบและผู้สมัครสอบจะต้องเตรียม “บัตรประจำตัวสอบ” และ “บัตรประจำตัว ประชาชน” ไว้รับตรวจด้วย เมื่อแจกปัญหาสอบและใบคำตอบแล้ว ห้าม เปิดปัญหาสอบก่อนที่หัวหน้า คณะกรรมการจัดการสอบสั่ง (หากมืช้อสงสัยให้ยกมือถามกรรมการจัดการสอบ)
8.2.3.4.2 เมื่อเริ่มทำข้อสอบแล้วจะ ไม่อนุญาต ให้ผู้มาสาย เข้าห้องสอบทุกกรณี และผู้ที่เช้าสอบจะต้องอยู่ในห้องสอบจนครบตามเวลาที่กำหนด จะออกจากห้องสอบ ก่อนเวลาไม,ได้ และ ห้าม นั่งผิดจากหมายเลขที่นั่งสอบของตนเองหรือลงหมายเลขประจำตัวสอบที่ไม่ใช่ หมายเลขประจำตัวของตนเองในใบคำตอบ (กรณีนี้ จะถือว่ามืเจตนาทุจริตในการสอบ)
8.2.3.4.3 ห้าม แสดงกริยาที่อาจจะส่อไปในทางทุจริต ทุกกรณี
8.2.3.5 คำแนะนำ (การเขียนใบคำตอบแบบ เลือกข้อ) ให้ฟ้งคำแนะนำใน การเขียนใบคำตอบของกรรมการจัดการสอบให้เข้าใจ โดยระบายทึบด้วยดินสอ 2B ลีดำ ให้เต็มช่องในช่องที่ เลือกตอบเพียงช่องเดียว (ห้ามใช้หมึกระบาย) และเมื่อหมดเวลาสอบ ให้วางเอกสารปัญหาสอบและกระดาษ ใบคำตอบไว้บนโต๊ะ ห้าม นำออกจากห้องสอบเป็นอันขาด (หากฝ่าฟินจะถือว่ามีเจตนาทุจริตในการสอบ) ตัวอย่าง ถ้าเลือกคำตอบในข้อ 2
8.2.3.6 การแยกประเภทการสอบภาควิชาการ ให้กรรมการแยกประเภท การสอบภาควิชาการออกเป็น 2 ประเภท ด้วยการแยกกระดาษคำตอบ ดังนี้-
8.2.3.6.1 กระดาษคำตอบประเภทโควตาทั่วไป
(บนหัวกระดาษคำตอบทางด้านขวาจะเป็นสีฟ้า และมีคำว่าโควตาทั่วไป)
8.2.3.6.2 กระดาษคำตอบประเภทโควตาทหารกองประจำการ ที่เลื่อนปลด (บนหัวกระดาษคำตอบทางด้านขวาจะเป็นสีแดง และมีคำว่าโควตาเลื่อนปลด)
8.2.4 การสอบสัมภาษณ์
วันที 22 – 23 มนาคม 2564 เวลา 0700 – 1200 น. และ เวลา 1300 – 1600 น. เพอดู บุคลิก ลักษณะ ท่วงที วาจา ทัศนคติ และการตอบปัญหา การสอบสัมภาษณ์สำหรับผู้ที่มีรายชื่อประกาศผลผ่านการทดสอบ ร่างกาย (รอบแรก) เท่านั้น จึงจะมีสิทธิ้สอบในรอบสอง โดยจะต้องเข้ารับการสอบให้ครบทุกขั้นตอน (ผ่านการ สอบภาควิขาการเรียบร้อยแล้ว) หากไม่ดำเนินการตามที่กำหนดแล้วจะมีผลการสอบเป็น “ไม่ผ่านการสอบ” (รายละเอียดเพิ่มเดิมในระเบียบการสอบคัดเลือกฯ อนุผนวก 1 ประกอบ ผนวก ก)
8.2.4.1 สถานที่สอบ อาคาร 3 กองการศึกษา โรงเรียนทหารราบ
ศูนย์การทหารราบ ขั้น 2 และขั้น 3
8.2.4.2 การแต่งกาย ขุดสุภาพ (กางเกงสเล็คลีดำ, เสื้อคอปกแขนยาว ลีขาว, รองเท้าทุ้มส้น) ทหารกองประจำการ ขุดฟิกพราง
8.2.5 การประกาศผลสอบ รอบสุดท้าย (เมื่อทดสอบแล้วเสร็จทุกขั้นตอน)
ในวันที่ 29 มีนาคม 2564 เวลา 0800 – 1800 น. ศูนย์การทหารราบ จะประกาศรายชื่อผู้ที่ผ่านการสอบ รอบแรก (เรียงตามลำดับคะแนนที่สอบได้) ทางเว็บไซต์ ศูนย์การทหารราบ http://infantry-center.rta.mi.th และปิดประกาศ ณ แหล่งสมาคมนายทหาร ค่ายธนะรัชต์ อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ กรณีมีผลการสอบ “คะแนนรวมเท่ากัน” คณะกรรมการดำเนินงาน จะพิจารณาคะแนน วิชาภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ, คณิตศาสตร์, ประวัติศาสตร์ชาติไทย, ความรู้ทั่วไป และวิชาทหารราบ ตามลำดับ ซึ่งผู้ที,ผ่านเกณฑ์ การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย และการสอบภาควิชาการ และสอบสัมภาษณ์ และได้คะแนนรวมสูงสุด ในแต่ละโควตา จะได้รับการประกาศชื่อเพื่อเช้ารับการฟิกอบรม และบรรจุเป็นนายทหารประทวน เหล่าทหารราบ อัตรา ส.อ. รับเงินเดือน ป.1 ขั้น 13.5 จำนวน 250 นาย และ บุคคลสำรอง จำนวน 100 นาย
8.2.6 การรายงานตัว และทำสัญญา
วันที่ 1 – 9 เมษายน 2564 เวลา 0800 – 1600 น. (เว้นวันหยดราชการ) ณ แหล่งสมาคมนายทหาร ค่ายธนะรัชต์ อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ การรายงานตัว และทำสัญญาสำหรับผู้ที’ไต้รับการคัดเลือกเพื่อบรรจุเข้ารับ ราชการต้องนำผู้รับรอง (ผู้คํ้าประกัน) ไปรายงานตัวทำสัญญาเข้ารับราชการ ตามวันเวลา สถานที่ ที่กำหนด หากไม่ปฏิบัติตามกำหนดที่ประกาศจะลือว่าเป็นผู้สละสิทธิ้ ศูนย์การทหารราบ จะเรียกบุคคลตัวสำรองทันที โดยมีรายละเอียด ดังนี้-
– ผู้ที่ผ่านการสอบคัดเลือก บุคคลตัวจริง (กลุ่มโควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลด) จำนวน 125 นาย
– ลำดับที่ 1 – 60 รายงานตัวฯ ในวันที่ 1 เม.ย. 64
– ลำดับที่ 61 – 125 รายงานตัวฯ ในวันที่ 2 เม.ย. 64
– ผู้ที่ผ่านการสอบคัดเลือก บุคคลตัวจริง (กลุ่มโควตาทั่วไป) จำนวน 125 นาย
รายงานตัวๆ ในวันที่ 5 เม.ย. 64
รายงานตัวๆ ในวันที่ 7 เม.ย. 64
รายงานตัวๆ ในวันที่ 8 เม.ย. 64
และผู้ที่ตกค้างจากวันที่ 1 – 8 เม.ย. 64 รายงานตัว ฯ ในวันที่ 9 เม.ย. 64
- ลำดับที่ 1-40 รายงานตัวๆ ในวันที่ 5 เม.ย. 64
- ลำดับที่ 41-80 รายงานตัวๆ ในวันที่ 7 เม.ย. 64
- ลำดับที่ 81-125 รายงานตัวๆ ในวันที่ 8 เม.ย. 64
– บุคคลสำรอง ลำดับที่ 1 – 100 และผู้ที่ตกค้างจากวันที่ 1 – 8 เม.ย. 64 รายงานตัว ฯ ในวันที่ 9 เม.ย. 64
– ผู้ที่ไม่มารายงานตัวในวันที่ 9 เม.ย. 64 เวลา 16.00 ลือว่าสละสิทธี้
– ผู้ที่ผ่านการสอบคัดเลือก บุคคลตัวจริง (กลุ่มโควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลด) จำนวน 125 นาย – ลำดับที่ 1 – 60 รายงานตัวฯ ในวันที่ 1 เม.ย. 64
– ลำดับที่ 61 – 125 รายงานตัวฯ ในวันที่ 2 เม.ย. 64
– ผู้ที่ผ่านการสอบคัดเลือก บุคคลตัวจริง (กลุ่มโควตาทั่วไป) จำนวน 125 นาย
8.2.6.1 ผู้รับรอง (ผู้คํ้าประกัน) ต้องเป็นข้าราชการสัญญาบัตรประจำการ ชั้นยศ ตั้งแต่ ร้อยตรี , เรือตรี , เรืออากาศตรี หรือ ร้อยตำรวจตรี ขึ้นไป หรือ ข้าราชการพลเรือน (ข้าราชการ ประจำ) ตั้งแต่ ระดับ 3 ขึ้นไป (ไมใช่พนักงานบริษัทหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ) และมีอายุไม่เกิน 58 ปี
8.2.6.2 ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ของท้องถิ่น ไม่ลามารถคํ้าประกันได้
8.2.7 คำแนะนำ การรับสมัครและสอบคัดเลือกฯ สามารถดาวน์ใหลด ระเบียบการ สอบคัดเลือกทหารกองหนุนเป็นนายทหารประทวน เหล่าทหารราบ รุ่นที, 11 ประจำปีงบประมาณ 2564 ทางเว็บไซต์ ศูนย์การทหารราบ http://infantry-center.rta.mi.th และสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ กองกำลังพล ศูนย์การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ โทร.ทบ. 54014 และ 54018 หมายเลขโทรศัพท์ 032 – 542468 ในวันและเวลาราชการ
ประกาศ ณ วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2564
วิชาที่สอบ
ระเบียบการ
สอบคัดเลือกทหารกองหนุนประเภทที่ 1 ของหน่วยในส่วนกำลังรบ และสนับสนุนการรบ (เหล่าทหารราบ) ประจำปีงบประมาณ 2564
คำนำ
ศูนย์การทหารราบ มีความประสงค์จะรับสมัครทหารกองหนุนประเภทที่ 1 (เหล่าทหารราบ) เพื่อสอบคัดเลือกและบรรจุเข้ารับราชการเป็นนายทหารประทวน (อัตรา สิบเอก) จำนวน 250 อัตรา โดยบรรจุ เข้ารับราชการในวันที่ 1 พฤษภาคม 2564 เพื่อเข้ารับการศึกษา หลักสูตร เตรียมนายสิบชั้นด้นสำหรับทหารกองหนุน ระยะเวลาการศึกษา 20 สัปดาห์ เมื่อสำเร็จการศึกษา จะปรับย้ายไปรับราชการยังหน่วยในส่วนกำลังรบ และ สนับสบุนการรบ (เหล่าทหารราบ) ต่อไป
เพื่อให้ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสอบคัดเลือกได้ทราบถึงรายละเอียดต่างๆ ที่จะเป็น ประโยชน์ ในการสอบครั้งนี้ ศูนย์การทหารราบ จึงได้จัดทำระเบียบการสอบคัดเลือกทหารกองหนุนเพื่อบรรจุ เข้ารับราชการเป็นนายทหารประทวน (อัตรา สิบเอก) ของหน่วยในส่วนกำลังรบ และสนับสบุนการรบ (เหล่า ร.) ประจำปี 2564 ในส่วนโควตาทั่วไปจำนวน 125 อัตรา และโควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลดและสมัครใจ อยู่ต่อ จำนวน 125 อัตรา รวม 250 อัตรา ขึ้นมาเพื่อจะช่วยอำนวยความสะดวกในการเตรียมการสอบ รวมทั้ง เป็นการแจ้งเตือนผู้สมัครสอบมิให้ไปหลงเชื่อบุคคลหนึ่งบุคคลใดที่แอบอ้างว่าจะช่วยเหลือในการสอบได้ และหากผู้สมัครสอบได้พบเห็นพฤติกรรมใดๆ ที่ล่อไปในทางทุจริตหรือประสงค์จะให้ข้อมูลใดที่เป็นประโยชน์ ในการดำเนินงาน โปรดแจ้งไปที่ ศูนย์การทหารราบ ค่ายธนะรัชต์ อำเภอ ปราณบุรี จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ 77160โทร. 0 3254 2468 ต่อ 54014 และ 54018
ศูนย์การทหารราบ
ระเบียบการ
สอบคัดเลือกทหารกองหนุนประเภทที่ 1 ของหน่วย ในส่วนกำลังรบ และสนับสนุนการรบ (เหล่าทหารราบ)
ขอให้ผู้สมัครสอบอ่านระเบียบการให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามขั้นตอนการปฏิบัติ ตามลำดับข้อ ให้ครบถ้วนเพื่อเป็นประโยชน์ต่อท่านในการเตรียมการสอบ ดังนี้
ข้อ 1. ความมุ่งหมาย
กองทัพบก มีความประสงค์จะรับสมัครสอบคัดเลือกทหารกองหนุนประเภทที่ 1 (เหล่าทหารราบ) ในโควตาปกติ (เหล่า ร.) จำนวน 125 อัตรา และโควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลดและสมัครใจอยู่ต่อ (ไม่จำกัดเหล่า) จำนวน 125 อัตรา เพื่อบรรจุเข้ารับราชการเป็นนายทหารประทวนเหล่าหารราบ (อัตรา สิบเอก) จำนวน 250 อัตรา บรรจุเข้ารับราชการในตำแหน่ง ประจำ ศร. ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 และเข้ารับการศึกษา หลักสูตร เตรียมนายสิบชันด้น ระยะเวลาการศึกษา 20 สัปดาห์ เมื่อสำเร็จการศึกษา จะดำเนินการปรับย้าย ไปรับราชการยังหน่วยในส่วนกำลังรบ (เหล่าทหารราบ) โดยมอบหมายให้ ศูนย์การทหารราบ เป็นผู้ดำเนินการ
ข้อ 2. คุณสมบัติของผู้สมัครสอบคัดเลือก แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้.-
2.1 มีความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างสูงสุด และมีทัศนคติที่ดีต่อกองทัพบก รวมทั้งยึดมั่น ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ
2.2 โควตาทั่วไป (เหล่า ร.) จำนวน 125 นาย
2.2.1 เป็นทหารกองหนุนประเภทที่ 1 ที่เคยรับราชการเป็นทหารกองประจำการในสังกัดกองทัพบก เหล่าทหารราบ อย่างน้อย 1 ปี หรือเป็นทหารกองประจำการที่รับราชการในสังกัดกองทัพบก เหล่าทหารราบ มาแล้วอย่างน้อย 1 ปี และครบกำหนดปลดเป็นทหารกองหนุนขั้นที่ 1 ใน 1 พ.ค. 64 โดยมีอายุไม่เกิน 25 ปี (ผู้ไม่เกิดก่อน พ.ศ. 2539) (การคิดอายุ พ.ศ. 2564 ลบ พ.ศ. เกิด) และ ไม่รับสมัครทหารกองหนุนประเภทที่ 1 ที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตรนักศึกษาวิชาทหาร และทหารกองประจำการที่สมัครรับราชการต่อระยะ เวลาเกิน 30 เม.ย. 64
2.2.2 สำเร็จการศึกษาไม่ตำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า จากสถานศึกษา ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.), สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) หรือ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนให้การรับรอง (ไม่รับสมัครผู้ที่รอผลการศึกษา)
2.3 โควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลดและสมัครใจอยู่ต่อ จำนวน 125 นาย ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้-
2.3.1 เป็นทหารกองประจำการ ในสังกัด กองทัพบก โดยไม1จำกัดเหล่า
2.3.2 ไม่จำกัดอายุ (ต้องเป็นทหารกองประจำการที่เลื่อนปลดและสมัครใจอยู่ต่อที่จะปลดใน 1 พ.ค. 64) 2.3.3 สามารถใช้คุณวุฒิระดับมัธยมศึกษาตอนด้น (ม.ร) ได้
2.3.4 พิจารณารอยสักโดยแต่งกายชุดปกติกากีแกมเขียวคอพับแขนยาวซึ่งมองไม่เห็นจากภายนอก
2.3.5 คุณสมบัติอื่นๆ ให้ปฏิบัติตามแนวทางของโควตาทั่วไปทุกกรณี
2.4 มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่มีโรคที่ชัดต่อการรับราชการ มีอวัยวะ รูปร่าง ลักษณะท่าทาง และ ขนาดร่างกายเหมาะสมแก่การเป็นทหาร มีคุณสมบัติครบถ้วนตามพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497 และฉบับที่แก่ไขเพิ่มเติม
2.5 เป็นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนในการขอแต่งตั้งยศเป็นนายทหารประทวน ตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหม ว่าด้วยการแต่งตั้งยศทหาร พ.ศ. 2507 และฉบับที่แก่ไขเพิ่มเติม
2.6 มีสัญชาติไทย และบิดา มารดามีสัญชาติไทยโดยการเกิด แต่ถ้าบิดาเป็นนายทหารสัญญาบัตร หรือ นายทหารประทวน ซึ่งมีสัญชาติไทย โดยการเกิดแล้ว มารดาจะมิใช่ผู้มีสัญชาติไทยโดยการเกิดก็ได้ ในกรณีที่ปู หรือ ย่า หรือ ตา หรือ ยาย ของผู้สมัครสอบคัดเลือกมีสัญชาติอื่น ที่มิใช่สัญชาติไทย ให้ใช้หลักฐานดังนี้ สูติบัตร หรือหนังสือรับรองการได้สัญชาติไทยโดยการเกิด ของบิดา หรือมารดา แล้วแต่กรณี เป็นหลักฐานในการสมัครสอบ
2.7 ไม่เป็นผู้ที่มีหนี้สินล้นพ้นตัว หรือเป็นบุคคลล้มละลายตามคำพิพากษา
2.8 ไม่อยู่ในสมณเพศ
2.9 ไม่เป็นผู้อยู่ระหว่างเป็นจำเลยในคดีอาญา หรือไม่เป็นผู้เคยต้องรับโทษจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุด ให้จำคุกเพราะกระทำผิดทางอาญา เว้นแต่โทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
2.10 ไม่เป็นผู้เสพยาเสพติด หรือสารเคมีเสพติดให้โทษ หรือมีประวัติคดีอาญา ข้อหาเกี่ยวกับยาเสพติด
2.11 ไม่เคยเป็นผู้ถูกปลดเพราะความผิด หรือถูกไล่ออกจากราชการ
2.12 ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดีงาม
2.13 ไม่เคยทุจริตในการสมัครสอบหรือการสอบคัดเลือกเข้าเป็นข้าราชการทหารมาก่อน
2.14 ไม่เป็นผู้ที่ตาบอดสื
ข้อ 3. หลักฐานในการขอรับสิทธิคะแนนเพิ่ม
หลักฐานขอรับสิทธิคะแนนเพิ่มด้านการทหารของผู้สมัครที่มี ความประสงค์ขอรับสิทธิคะแนนเพิ่ม ต้องยื่นแสดงความจำนงในการยื่นหลักฐานการขอรับสิทธิคะแนนเพิ่ม ด้วยตนเองในวันที่ยื่นใบสมัคร (ทหารกองประจำการซึ่งสมัครใจขอรับราชการในกองประจำการต่อเพื่อทดแทน การเรียกเกณฑ์ โดยให้เพิ่มคะแนนเป็นพิเศษ ร้อยละ 5 จากที ทบ. กำหนด และมีผลบังคับใช้กับ ทหารกองประจำการที่สมัครใจขอเลื่อนกำหนดเวลาปลดฯ (ครบกำหนดปลดประจำการ 1 พ.ค. 63 และสมัครใจ ขออยู่รับราชการต่ออีก 1 ปี)) โดยให้หน่วยด้นสังกัดออกหนังสือรับรองในการขอรับราชการต่อ และให้ระบุวันที่ ขอสมัครใจเข้ารับราชการต่อ และวันที่ปลดออกจากราชการทหารด้วย
ข้อ 4. ข้อกำหนด
4.1 ผู้ที่มีคุณวุฒิสูงกว่าที่กำหนดไว้ในข้อ 2.2.2 และ 2.3.3 จะใช้คุณวุฒิต่างๆ ที่สูงกว่านั้นมาเรียกร้อง สิทธิบรรจุตามคุณวุฒิที่ตนมีอยู่ไม1ได้
4.2 เมื่อผ่านการสอบคัดเลือกแล้วจะได้รับการบรรจุเข้ารับราชการเป็นนายทหารประทวน ตำแหน่ง ประจำ ศูนย์การทหารราบ ตั้งแต่ 1 พ.ค. 64 โดยได้รับยศ สิบตรี (อัตราเงินเดือน ป.1 ชั้น 13.5) ซึ่งจะได้รับเงินเดือน รวมค่าครองชีพ เป็นเงินไม่ตํ่ากว่า 10,000.- บาท/เดือน และได้รับเครื่องแต่งกายตามที่กองทัพบกกำหนด
4.3 เมือได้รับการบรรจุแต่งตั้งยศ ตามข้อ 4.2 แล้ว จะต้องเข้ารับการฟิกอบรมหลักสูตรระยะสั้น ประมาณ 5 เดือน (20 สัปดาห์) หลังจากสำเร็จการฟิกอบรมแล้วจะได้รับการพิจารณาปรับย้ายไปรับราชการ ในหน่วยต่างๆ ของส่วนกำลังรบและสนับสนุนการรบ ตามผลการฟิกอบรม และตามความเหมาะสม กรณีไม1สำเร็จการฟิกอบรม กองทัพบกจะดำเนินการ ตามมาตรการทางการปกครอง ทางวินัย หรืออาจจะ ดำเนินการให้ออกจากราชการก็ได้
4.4 กรณีการตรวจสอบวุฒิการศึกษา และประวัติอาชญากรรม หากตรวจพบภายหลังว่าไม1ถูกต้อง (ตามข้อ 2) จะถูกปลดออกจากราชการทันที
4.5 กรณีมีการตรวจพบการใช้ลื่อสังคมออนไลน่ไปในทางที่ทำให้เกิดความเลื่อมเสืยต่อสถาบันชาติ, ศาสนา, พระมหากษัตริย์ และกองทัพบก ในภายหลังจะถูกปลดออกจากราชการทันที
ข้อ 5. หลักฐานการรับสมัครสอบ
ให้ยื่นเอกสารประกอบการสมัครสอบฉบับจริงพร้อมสำเนาอย่างละ 1 ฉบับ โดยผู้สมัครสอบเขียนคำรับรองตนเองว่า (สำเนาถูกต้อง) แล้วลงชื่อกำกับไว้ เมื่อกรรมการรับสมัครตรวจสอบ เอกสารแล้วจะส่งฉบับจริงให้กลับคืน จะเก็บไว้เป็นหลักฐานเฉพาะฉบับสำเนาเท่านั้น โดยมีหลักฐาน ดังนี้
5.1 รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวกและแว่นตา ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 6 รูป (รูปถ่ายไม่เกิน 3 เดือน)
5.2 หลักฐานการศึกษา (ใบสุทธิ ระเบียนแสดงผลการศึกษาหรือใบประกาศนียบัตร)
5.3 สำเนาทะเบียนบ้านของผู้สมัคร, บิดา และมารดา พร้อมตัวจริง กรณีนามสกุลบิดา และมารดาไม่ ตรงกันจะต้องแนบสูติบัตร ของผู้สมัครเพื่อยืนยัน หรือให้อำเภอรับรองว่า เป็นบิดาและมารดาของผู้สมัครจริง
5.4 บัตรประจำตัวประชาชนผู้สมัคร
5.5 ทะเบียนกองประการ (สด.ร) หรือหนังสือสำคัญ (สด.ร) (กรณียังไม่มี สด.๘ ให้หน่วยต้นสังกัด รับรองว่ารับราชการในกองประจำการ ในปีใด ผลัดใด ตั้งแต่เมื่อใด และปลดประจำการเมื่อใด มาแสดง และ ต้องมี สด. 3 มาแสดงด้วย รับที่ สัสดี จว. จากภูมิสำเนาเกิด)
5.6 ใบสำคัญทางการแพทย์ทหาร (ทบ.466-620) ให้แพทย์ระบุว่า “ไม่เป็นโรคที่ขัดต่อการรับราชการ ทหาร” ที่ออกโดย รพ.สังกัด ทบ. เท่านั้น
5.7 หนังสือรับรองผู้บังคับบัญชา (นับตั้งแต่วันออกหนังสือรับรองฯ ไม่เกิน 6 เดือน)
5.8 หนังสือรับรองผลการตรวจสอบทัศนคติเบื้องด้นจากหน่วยด้นสังกัด (โดยใส่ซองปิดผนึก และประทับตรา ด้านหลังให้เรียบร้อย)
5.9 หลักฐานอื่นๆ เช่น การเปลี่ยนชื่อ – สกุล
5.10 หลักฐานตามข้อ 5.2 ถึงข้อ 5.7 ถ่ายเอกสารใช้กระดาษขนาด เอ 4 อย่างละ 1 ฉบับ และนำฉบับจริง มาแสดงต่อเจ้าหน้าที่รับสมัครด้วย ทั้งนี้ สำเนาเอกสารต่างๆ จะต้องซัดเจน ไม่เลือนราง หรือมีร่องรอย ขูดลบ ขีดฆ่า และมีการลงนามรับรองสำเนาให้ถูกต้องเรียบร้อย
5.11 รายละเอียดเพิ่มเดิมอื่น ๆ สอบถามได้ที่ กองกำลังพล ศูนย์การทหารราบ หมายเลขโทรศัพท์ 0 3254 2468, 54014, 54018 และทาง http://infantry-center.rta.mi.th
ข้อ 6. กำหนดการรับสมัครสอบ
6.1 รับใบสมัครและสมัครสอบ พร้อมกับตรวจร่างกายเบื้องต้นจากคณะกรรมการรับสมัคร ในวันที่ 15 – 25 ก.พ. 64 เวลา 08.00 น. – 16.00 น. ณ แหล่งสมาคมนายทหาร คำยธนะรัชต์ (เว้นวันหยุดราชการ)
6.2 กำหนดการรับสมัครแยกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
6.2.1 การรับสมัครโควตาทั่วไป
6.2.2 การรับสมัครโควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลด
6.3 กำหนดบัตรประจำตัวผู้มีสิทธสอบคัดเลือก เป็น 2 ประเภท ดังนี้
6.3.1 บัตรประจำตัวประเภทโควตาทั่วไป กำหนดเป็น สีฟ้า
6.3.2 บัตรประจำตัวประเภทโควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลด กำหนดเป็น สีแดง
6.4 ดาวน์โหลดระเบียบการสมัครและตัวอย่างใบสมัครจากเว็บไซต์ http://infantry-center.rta.mi.th
ข้อ 7. การสมัครสอบ
7.1 เขียนใบสมัครสอบให้ถูกต้องและซัดเจน ตามแบบตัวอย่างที่หน่วยรับสมัครติดไว้ และหลักฐาน ที่นำมาใช้สมัครสอบต้องเป็นหลักฐานที่เป็นจริง ถ้าหากตรวจพบว่าเอกลารเป็นเท็จ จะต้องถูกดำเนินคดี ตามกฎหมายจนถึงที่สุด
7.2 ให้ตรวจสอบความถูกต้องของใบสมัครสอบกับเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ก่อนยื่นหลักฐานใบสมัครสอบ
7.3 ยื่นหลักฐานให้กับเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เพื่อออกบัตรประจำตัวสอบ
7.4 ตรวจสอบความถูกต้องของบัตรประจำตัวสอบ พร้อมกับรับเอกสารประกอบการสมัครสอบฉบับจริงคืน (กรรมการรับสมัครสอบจะเก็บเฉพาะฉบับสำเนาไว้เป็นหลักฐาน)
7.5 ตรวจสอบเอกสารฉบับจริงอีกครั้ง หากยังไม่ได้รับคืน ให้ติดตามสอบถามกับกรรมการรับสมัครสอบ ในวันนั้น หากมีเอกสารสำคัญสูญหายไป คณะกรรมการจะไม่รับผิดชอบ
7.6 เมื่อได้รับบัตรประจำตัวสอบแล้ว ต้องจดจำหมายเลขประจำตัวสอบ และนำบัตรประจำตัวสอบ ติดตัวตลอดในห้วงการสอบ ถ้าไม่มีบัตรประจำตัวสอบไปแสดงต่อคณะกรรมการ “จะไม่มีสิทธิเข้าสอบ”
7.7 กรณีทำบัตรประจำตัวสอบหาย ให้แจ้งความที่สถานีตำรวจ จากนั้นนำหลักฐานใบรายงาน ประจำวัน รับแจ้งเอกสารหาย, สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน ยื่นเรื่องที่ กองกำลังพล ศูนย์การทหารราบ เพื่อขออนุมัติผู้บัญชาการศูนย์การทหารราบ (ประธานคณะกรรมการสอบคัดเลือก) ออกบัตรแทน
7.8 การแต่งกาย ชุดสุภาพใส่รองเท้าหุ้มส้น ห้ามสวมเสื้อยืดรองเท้าแตะ (กรณียังไม่ปลดประจำการ แต่งกายชุดเครื่องแบบ)
ข้อ 8. การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย (รอบแรก) (คะแนนเต็ม 25 คะแนน)
8.1 ผู้สมัครต้องเข้ารับการทดสอบสมรรถภาพร่างกายด้วยท่ามาตรฐานตามที่ กองทัพบก กำหนด จำนวน 5 ท่า (ดันพื้น, ลุกนั่ง, ดึงข้อ ภายในเวลา 2 นาที, วิ่ง 2 กิโลเมตร และว่ายนั้า 50 เมตร) ให้ได้ตามเกณฑ์ ร้อยละ 55 ขึ้นไปทุกท่า หากปฏิบัติในท่าใดไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนด จะได้คะแนนเป็น “0 คะแนน” ในท่านั้น ๆ
8.2 วัน เวลา สถานที่ในการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย วันอังคารที่ 9 และวันพุธที่ 10 มีนาคม 2564 เวลา 0600 – 1600 น. ณ สนามกีฬากลาง ค่ายธนะรัชต์ และสระว่ายนํ้า ศูนย์การทหารราบ
8.3 ท่าที่ทำการทดสอบ และเกณฑ์การให้คะแนน (ท่าทดสอบและคะแนนตาม ผนวก ค)
8.4 ให้กรรมการทดสอบสมรรถภาพร่างกายแบ่งกลุ่มการทดสอบสมรรถภาพร่างกายเป็น 2 ประเภท
8.4.1 การทดสอบสมรรถภาพร่างกายประเภทโควตาทั่วไป
8.4.2 การทดสอบสมรรถภาพร่างกายประเภทโควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลด
8.5 ประกาศผลการทดสอบสมรรถภาพร่างกาย รอบแรก จำนวน 500 นาย แบ่งเป็นกลุ่มทั่วไปเฉพาะ เหล่า ร. จำนวน 250 นาย และกลุ่มทหารกองประจำการที่เลือนปลดไม่จำกัดเหล่า จำนวน 250 นาย ในวันศุกร์ที่ 12 มี.ค. 64 เวลา 08.00 – 18.00 น. โดยปิดประกาศ ณ แหล่งสมาคมนายทหาร ค่ายธนะรัชต์ และเว็บไซต์ ศร.
ข้อ 9. การสอบคัดเลือกภาควิชาการ (รอบสอง) (คะแนนเต็ม 50 คะแนน)
9.1 สถานที่สอบ มหาวิทยาลัยราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล อ.หัวหิน จว.ประจวบคีรีขันธ์
9.2 วัน เวลาสอบ วันอาทิตย์ที่ 21 มีนาคม 2564
9.2.1 รายงานตัวเวลา 08.00 น. – 09.30 น.
9.2.2 สอบคัดเลือกเวลา 10.00 น. – 12.00 น.
9.3 รายละเอียดวิชาที่สอบตาม ผนวก ก.
9.4 การเตรียมตัวของผู้สมัครสอบ
9.4.1 เตรียมบัตร “ประจำตัวสอบ” และ “บัตรประจำตัวประชาชน” มาในวันสอบคัดเลือก ฯ ทุกครั้ง
9.4.2 ตรวจสอบที่นั่งสอบที่ระบุในบัตรประจำตัวสอบให้ถูกต้อง
9.4.3 แต่งกายชุดสุภาพ (กางเกงสเล็คสืดำ, เสื้อคอปกสืขาว และรองเท้าหุ้มส้น) ห้ามสวมเสื้อยืด รองเท้าแตะ (กรณียังไม่ปลดประจำการแต่งกายชุดเครื่องแบบ)
9.4.4 ให้นำดินสอดำอย่างอ่อน (2 บี) และยางลบ มาใช้ทำข้อสอบ
9.5 การเข้าห้องสอบ
9.5.1 เวลา 08.00 น. ให้พร้อมที่หน้าห้องสอบของตัวเองเข้าแถวเรียงตามลำดับหมายเลขประจำตัวสอบ
9.5.2 ห้าม นำอุปกรณ์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการสอบ เช่น เครื่องคิดเลข, นาฬิกาที่เป็นเครื่องคิดเลข, โทรศัพท์มือถือ, เพจเจอร์ หรือเครื่องมือสื่อสารแบบพกพาทุกชนิด เข้าไใ]ในห้องสอบโดยเด็ดขาด
9.5.3 กรรมการควบคุมการสอบจะเรียกเข้าห้องสอบตามลำดับ ให้นั่งตามผังที่นั่งสอบและผู้สมัคร สอบจะต้องเตรียม “บัตรประจำตัวสอบ” และ “บัตรประจำตัวประชาชน” ไว้รับตรวจด้วย
9.5.4 เมื่อแจกปัญหาสอบและใบคำตอบแล้ว ห้าม เปิดปัญหาสอบก่อนที่หัวหน้าคณะกรรมการ จัดการสอบสั่ง (หากมีข้อสงสัยให้ยกมือถามกรรมการจัดการสอบ)
9.5.5 เมื่อเริ่มทำข้อสอบแล้วจะไม่อนุญาตให้ผู้มาสายเข้าห้องสอบทุกกรณี และผู้ที่เข้าสอบ จะต้องอยู่ในห้องสอบจนครบตามเวลาที่กำหนด จะออกจากห้องสอบก่อนเวลาไม่ได้
9.5.6 ห้าม นั่งผิดจากหมายเลขที่นั่งสอบของตนเองหรือลงหมายเลขประจำตัวสอบที่ไมใช่ หมายเลขประจำตัวของตนเองในใบคำตอบ (กรณีนี้ จะถือว่ามีเจตนาทุจริตในการสอบ)
9.5.7 ห้าม แสดงกริยาที่อาจจะส่อไปในทางทุจริต ทุกกรณี
9.6 คำแนะนำในการเขียนใบคำตอบแบบ เลือกข้อ
9.6.1 ฟ้งคำแนะนำในการเขียนใบคำตอบของกรรมการจัดการสอบให้เข้าใจ
9.6.2 ให้ระบายทึบด้วยดินสอดำให้เต็มช่องในช่องที่เลือกตอบเพียงช่องเดียว (ห้ามใช้หมึกระบาย)
9.7 เมื่อหมดเวลาสอบ ให้วางเอกสารปัญหาสอบและกระดาษใบคำตอบไว้บนโต๊ะ ห้าม นำออก จากห้องสอบเป็นอันขาด (หากฝ่าผันจะถือว่ามีเจตนาทุจริตในการสอบ)
9.8 ให้กรรมการแยกประเภทการสอบภาควิชาการออกเป็น 2 ประเภท ด้วยการแยกกระดาษคำตอบ ดังนี้
9.8.1 กระดาษคำตอบประเภทโควตาทั่วไป (บนหัวกระดาษคำตอบทางด้านขวาสีฟ้า)
9.8.2 กระดาษคำตอบประเภทโควตาพลทหารเลื่อนปลด (บนหัวกระดาษคำตอบทางด้านขวาสีแดง)
ข้อ 10. การสอบสัมภาษณ์ (รอบสอง) (คะแนนเต็ม 25 คะแนน)
ผู้ที่มีรายชื่อประกาศผลผ่านการทดสอบร่างกาย (รอบแรก) เท่านั้น จึงจะมีสิทธสอบในรอบสอง โดยจะต้องเข้ารับการสอบให้ครบทุกขั้นตอน (ผ่านการสอบภาควิชาการเรียบร้อยแล้ว) หากไม่ดำเนินการ ตามที่กำหนดแล้วจะมีผลการสอบเป็น “ไม่ผ่านการสอบ”
10.1 การสอบสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม 25 คะแนน) ในวันจันทร์ที่ 22 – วันอังคารที่ 23 มี.ค. 64 เวลา 07.00 น. – 12.00 น. และ 13.00 น. – 16.00 น. (รายละเอียดตาม อนุผนวก 1 ประกอบ ผนวก ก) ณ อาคาร 3 กองการศึกษา โรงเรียนทหารราบ ศูนย์การทหารราบ ชั้น 2 และชั้น 3
10.2 แยกผลการสอบสัมภาษณ์เป็น 2 ประเภท ดังนี้
10.2.1 โควตาทั่วไป
10.2.2 โควตาทหารเลื่อนปลด
ข้อ 11. การประกาศผลสอบเมื่อทดสอบแล้วเสร็จทุกขั้นตอน (ขั้นสุดท้าย)
ใช้แนวทางแบ่งเป็นกลุ่มทั่วไปเฉพาะเหล่า ร. จำนวน 125 นาย (กำหนดให้มี ตัวอะไหล่ จำนวน 50 นาย) และกลุ่มทหารกองประจำการที่เลื่อนปลด จำนวน 125 นาย (กำหนดให้มี ตัวอะไหล่ จำนวน50นาย)โดยใช้ ผลคะแนนรวมของการสอบภาควิชาการและการสอบสัมภาษณ์มาจัดลำดับของแต่ละประเภท (โควตาทั่วไป และโควตา ทหารกองประจำการที่เลื่อนปลด)
11.1 ในวันจันทร์ที่ 29 มี.ค. 64 เวลา 08.00 น. – 18.00 น.โดยปิดประกาศ ณ แหล่งสมาคมนายทหาร ค่ายธนะรัชต์ และเว็บไซต์ ศร. http://infantry-center.rta.mi.th
11.2 ผู้ที่ผ่านเกณฑ์การทดสอบสมรรถภาพร่างกาย และการสอบภาควิชาการ และสอบสัมภาษณ์ และ ได้คะแนนรวมสูงสุด ในแต่ละโควตาจะได้รับการประกาศชื่อเพื่อเข้ารับการฟิกอบรม และบรรจุเป็นนายทหาร ประทวนอัตรา ส.อ. รับเงินเดือน ป.! ชั้น 13.5 รวมจำนวน 250 นาย และจะประกาศบุคคลสำรองไว้อีกโควตา ละ 50 นาย รวม 100 นาย โดยบุคคลสำรองประเภทโควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลดจำนวน 50 นาย จะได้รับคะแนนเพิ่ม ร้อยละ 5 ก่อนแล้วจึงค่อยไปจัดลำดับรวมกับบุคคลสำรองประเภทโควตาทั่วไป จำนวน 50 นาย เป็นบุคคลสำรองจัดลำดับตามผลคะแนนจำนวน 100 นาย
11.3 กรณีมีผลการสอบ “คะแนนรวมเท่ากัน” คณะกรรมการดำเนินงาน จะพิจารณาคะแนน วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ชาติไทย ความรู้ทั่วไป และวิชาทหารราบ ตามลำดับ
ข้อ 12. การรายงานตัวและทำสัญญา
วันพฤหัสบดีที่ 1 เม.ย. – วันศุกร์ที่ 9 เม.ย. 64 เวลา 08.00 น. – 16.00 น. รายงานตัวและทำสัญญา ณ แหล่งสมาคมนายทหาร ค่ายธนะรัชต์ ดังนี้ .-
ผู้ที่ผ่านการสอบคัดเลือก บุคคลตัวจริง (กลุ่มโควตาทหารกองประจำการที่เลื่อนปลด) จำนวน 125 นาย
- ลำดับที่ 1-60 รายงานตัว ฯ ในวันที่ 1 เม.ย. 64
- ลำดับที่ 61 – 125 รายงานตัว ฯ ในวันที่ 2 เม.ย. 64
ผู้ที่ผ่านการสอบคัดเลือก บุคคลตัวจริง (กลุ่มโควตาทั่วไป) จำนวน 125 นาย
- ลำดับที่ 1-40 รายงานตัว ฯ ในวันที่ 5 เม.ย. 64
- ลำดับที่ 41 – 80 รายงานตัว ฯ ในวันที่ 7 เม.ย. 64
- ลำดับที่ 81 – 125 รายงานตัว ฯ ในวันที่ 8 เม.ย. 64
- บุคคลสำรองลำดับที่ 1 – 100 และผู้ที่ตกค้างจากวันที่ 1-8 เม.ย. 64 รายงานตัว ฯ ในวันที่ 9 เม.ย. 64 ผู้ที่ไม่มารายงานตัวในวันที่ 9 เม.ย. 64 เวลา 16.00 ถือว่าสละสิทธ
ข้อ 13. การคํ้าประกัน
- ผู้คํ้าประกัน จะต้องเป็นข้าราชการประจำ ระดับ 3 ขึ้นไป หรือเป็นข้าราชการทหาร ตำรวจประจำการ ชั้นยศ ตั้งแต่ ร้อยตรี , เรือตรี , เรืออากาศตรี หรือ ร้อยตำรวจตรี ขึ้นไป หรือ ข้าราชการพลเรือน (ข้าราชการ ประจำ) ตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป (ไม่ใช่พนักงานบริษัทหรือพนักงานรัฐวิสาหกิจ)
- อายุของผู้คํ้าประกัน ต้องไม่เกิน 58 ปี (นับตามปี พ.ศ.เกิด)
- ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองของท้องถิ่น ไม่ลามารถคํ้าประกันได้
ผนวก ก
รายละเอียดเพิ่มเติมและขั้นตอนการสอบคัดเลือกทหารกองหนุน ของหน่วย ในส่วนกำลังรบ และสนับสบุนการรบ (เหล่าทหารราบ)
—
1. การตรวจร่างกายเบื้องด้น เพื่อเป็นการคัดกรองคุณสมบัติของผู้สมัครเบื้องด้น ในวันรับสมัครสอบคัดเลือกฯ ณ แหล่งสมาคมนายทหาร ค่ายธนะรัชต์
-มีหน้าที่ตรวจโรคที่ขัดต่อการรับราชการทหาร, ตรวจร่างกายซึ่งผิดรูป, รอย แผลเป็น, รอยสัก, การผิดปกติของการมองเห็น และ ตรวจตาบอดสื โดยมีรูปภาพประกอบและชี้แจงให้กับผู้สมัครได้เข้าใจซัดเจน
2. ทดสอบสมรรถภาพร่างกาย (รอบแรก) 25 คะแนน (วันอังคารที่ 9 – วันพุธที่ 10 มี.ค. 64 เวลา 06.00 น. – 16.00 น.)
2.1 ท่าดันพื้น 5 คะแนน
2.2 ท่าลุกนั่ง 5 คะแนน
2.3 ท่าดึงข้อ 5 คะแนน
2.4 วิ่ง 2 กม. 5 คะแนน
2.5 ว่ายนํ้า ระยะ 50 ม. 5 คะแนน
สถานที่ สนามกีฬา พัน.นนส.กรม นร.รร.ร.ศร., สนามกีฬากลาง และสระว่ายนํ้า ศูนย์การทหารราบ
3. สอบภาควิชาการ (รอบสอง) ผู้ที่สอบผ่านรอบแรกจึงจะได้ทำการสอบในรอบสอง จำนวน 100 ข้อ 50 คะแนน
ในวันอาทิตย์ที่ 21 มี.ค. 64 เวลา 08.00 น. พร้อม ณ มหาวิทยาลัยราชมงคลรัตนโกสินทร์
วิทยาเขตวังไกลกังวล อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์
3.1 วิซาทั่วไป (พื้นฐานระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย) (จำนวน 70 ข้อ 35 คะแนน)
- 3.1.1 วิชาคณิตศาสตร์ จำนวน 10 ข้อ 5 คะแนน
- 3.1.2 วิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 20 ข้อ 10 คะแนน
- 3.1.3 วิชาภาษาไทย จำนวน 20 ข้อ 10 คะแนน
- 3.1.4 วิชาความรู้ทั่วไป จำนวน 10 ข้อ 5 คะแนน
- 3.1.5 วิชาประวัติศาสตร์ชาติไทย จำนวน 10 ข้อ 5 คะแนน
3.2 วิซาทหารราบ (จำนวน 30 ข้อ 15 คะแนน)
– ขอบเขตการสอบความรู้เบื้องด้นในหลักสูตรการรีเกทหารใหม่ เหล่า ทหารราบ
4. การสอบสัมภาษณ์
4.1 ยื่นหนังสือรับรองผลการตรวจสอบทัศนคติฟ้องต้นจากหน่วยต้นสังกัด (ตามตัวอยำง) ในวันจันทร์ที่ 22 – วันอังคารที่ 23 ก.พ. 64 เวลา 07.00 น. – 16.00 น. ณ อาคาร 3 กองการศึกษา โรงเรียนทหารราบ ศูนย์การทหารราบ ชั้น 2 และชั้น 3 โดยกำหนดแนวทางการดำเนินการตรวจสอบทัศนคติ เป็น 3 ข้อ ตามอนุผนวก 1 และให้รับรองผลการตรวจสอบทัศนคติโดยคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ตามอนุผนวก 2
4.2 กพ.ทบ. ได้แจ้งที่ประชุมทราบ เกี่ยวกับนโยบายของ ผบ.ทบ. สำหรับผู้ที่จะสมัครสอบเข้าเป็น นนส. หรือนายทหารประทวนของกองทัพบก
4.2.1 ในการคัดสรรคผู้ที่จะสมัครสอบทุกนายจะต้องได้รับการปลูกส่งค่านิยมที่ดี มีความจงรักภักดี และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
4.2.2 การคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการจะต้องมีการตรวจสอบทัศนคติผู้สมัครเข้ารับราชการ อย่างละเอียด และมีการรับรองจากคณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ เพื่อใช้เป็นหลักฐานประกอบการขอบรรจุ เข้ารับราชการต่อไป
4.3 กพ.ทบ. ได้กำหนดแนวทางการดำเนินการสอบสัมภาษณ์(ตรวจสอบทัศนคติ) แบ่งการพิจารณา เป็น 3 ข้อ ตามอนุผนวก 1
4.4 ให้นำแนวทางการสอบสัมภาษณ์ในการสอบคัดเลือก นตท.ในส่วนของ ทบ.ปี2563 มาประยุกต์ใช้ กำหนดให้มีการสอบสัมภาษณ์จำนวน 3 หัวข้อ ได้แก่ บุคลิกภาพ, การทดสอบความรู้ และการประเมินทัศนคติ
4.5 องค์ประกอบคณะกรรมการสัมภาษณ์ เป็นนายทหารสัญญาบัตรอย่างน้อย 3 นาย ประกอบด้วย นายทหารชั้นนายพล ชั้นยศ พล.ต. ขึ้นไป หรือนายทหารสัญญาบัตรอัตรา พ.อ.(พ) เป็นประธานกรรมการ และ นายทหารสัญญาบัตรอย่างน้อย 2 นาย เป็นกรรมการ
4.6 ผู้ที่ไม่ผ่านการสัมภาษณ์ถือว่ามีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนในการบรรจุเข้ารับราชการ ตามหลักเกณฑ์ ของ กห. และ ทบ.
4.7 รายละเอียดการดำเนินการเพิ่มเดิม ดังนี้
4.7.1 ให้มีการบันทึกภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวในชั้นตอนการสัมภาษณ์
4.7.2 ให้ระบุชั้นตอนการสัมภาษณ์ในใบสมัคร ให้เกิดความชัดเจนกับผู้สมัครสอบ
4.7.3 ให้บันทึกชื่อบัญชีสื่อสังคมออนไลน์ของผู้สมัคร อาทิ Facebook, Twitter และ Line ตามความเหมาะสมในชั้นตอนการสมัครหรือชั้นตอนการทำสัญญาบรรจุเข้ารับราชการใน ทบ. เพื่อใช้ประโยชน์ ในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของ ทบ. และการรับเรื่องร้องเรียนของกำลังพลในอนาคต
5. การตรวจโรค และรอยสัก
5.1 มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ไม่มีโรคที่ฃัดต่อการรับราชการ มีอวัยวะ รูปร่าง ลักษณะท่าทาง และ ขนาดร่างกายเหมาะสมแก่การเป็นทหาร รายละเอียดตามอนุผนวก 3
5.2 ไม่มีรอยสักให้เห็นอย่างซัดเจนนอกร่มผ้าเมื่อแต่งกายด้วยเครื่องแบบทหาร หรือชุดกีฬาของหน่วย (เสื้อคอกลม กางเกงขาสั้น) ตามผนวก ข สำหรับทหารกองประจำการที,มีรอยสักและสมัครใจขอเลื่อน กำหนดเวลาปลดจากกองประจำการ ประจำปีงบประมาณ 2563ให้มีการผ่อนผันเป็นกรณีพิเศษเฉพาะ กรณี โดยอนุโลมให้มีรอยสักในร่มผ้า ซึ่งมองไม่เห็นจากภายนอกเมื่อแต่งกายเครื่องแบบปกติกากีแกมเขียวคอพับ แขนยาว เพื่อให้สอดคล้องกับดำริ/สั่งการ ผบ.ทบ. ในการรณรงค์/ประชาสัมพันธ์ให้ทหารกองประจำการสมัคร ใจขอเลื่อนกำหนดเวลาปลดฯ และเพิ่มโอกาศให้ทหารกองประจำการเหล่านี้ ได้เป็น นนส. และนายทหาร ประทวนของ ทบ. (หนังสือ กพ.ทบ. ด่วนมาก ที่ กห 0401/1876 ลง 27 พ.ค. 63 เรื่องขออนุมัติออกคำสั่ง ทบ. เรื่องหลักเกณฑ์การพิจารณารอยสัก สำหรับการสอบคัดเลือกเข้าเป็น นนส. และนายทหารประทวนของ ทบ.)
อนุผนวก 1
แนวทางการดำเนินการตรวจสอบทัศนคติ แบ่งการพิจารณาเป็น 3 ข้อ ดังนี้ (25 คะแนน)
1. ข้อที่ 1 ลักษณะท่าทางบุคลิกภาพทั่วไป คุณลักษณะที่เหมาะสมต่อการเป็นทหาร :โดยพิจารณา จาก การแนะนำตัว ชื่อ-สกุล, ที่อยู่อาศัย หรือ การเล่าเรื่องส่วนตัว การปฏิบัติตามคำสั่งโดยมีองค์ประกอบใน การพิจารณาด้านต่างๆ (ดีมาก /ดี/ พอใช้/ปรับปรุง / ไม่เหมาะสม)
1.1 บุคลิกภาพ ห่วงทีวาจา และวุฒิภาวะทางอารมณ์
1.2 การปรับตัว และ มนุษย์สัมพันธ์
1.3 การแสดงออกทางสืหน้า, สายตา
2. ข้อที่ 2 การทดสอบความรู้โดยพิจารณาจากองค์กรความรู้ในด้านต่างๆ โดยคัดเลือก จาก คลังชุดคำถาม-คำตอบ จำนวน4ข้อ(4ข้อ ดีมาก/3ข้อ ดี/2ข้อพอใช้/1 ข้อปรับปรุง/ตอบไม่ได้ ไม่เหมาะสม)
2.1 ความรู้ประวัติศาสตร์ ชาติไทย
2.2 ความรู้ศาสตร์พระราชา
2.3 บทบาทหน้าที่พลเมืองตามรัฐธรรมนูญไทย
2.4 ความรู้เกี่ยวกับกองทัพบก
3. ข้อที่ 3 การประเมินทัศนคติ (ดีมาก/ ดี / พอใช้/ปรับปรุง / ไม่เหมาะสม) เกี่ยวข้องกับสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และกองทัพบก มีความเต็มใจที่จะเป็นทหารอาชีพในอนาคต โดยการให้เลือก รูปภาพที่ชื่นชอบ ประมาณ 3-4 ภาพและอธิบายภาพนั้น ทั้งให้บันทึกและตรวจสอบชื่อบัญชีสื่อสังคมออนไลน์ ของผู้สมัคร อาทิ Facebook, Twitter และ Line ตามความเหมาะสม หากตรวจพบว่าเคยมีการโพสต์รูป หรือ ข้อความในบัญชีสื่อสังคมออนไลน์ที่หมิ่นสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และกองทัพบก เป็นเหตุทำให้ เสื่อมเสืยชื่อเสียง ในภายหลัง ให้กรรมการพิจารณาลงบันทึกในการสอบสัมภาษณ์ทัศนคติว่าไม่มีความ เหมาะสมในการบรรจุเข้ารับราชการ ให้ดัดออก
หมายเหตุ 1. หากการประเมินทัศนคติทั้ง 3 หัวข้อ คณะกรรมการพิจารณาแล้วมีหัวข้อใดหัวข้อหนึ่ง ที่ไม่เหมาะสม ให้ดัดออก
2. คณะกรรมการสอบสัมภาษณ์ สามารถพิจารณากำหนดคะแนนในแต่ละหัวข้อได้ตาม ความเหมาะสม และเมื่อคิดแนนรวมทั้ง 3 หัวข้อแล้วต้องเป็น 25 คะแนน (โดยให้คณะกรรมการเน้นนั้าหนัก คะแนนในข้อที่ 3)
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากประกาศรับสมัครสอบ ดาวน์โหลดได้ที่ลิงค์ด้านล่าง
วิธีการสมัครงานข้าราชการ ศูนย์การทหารราบ :ตนเอง
ผู้ประสงค์จะสมัครสมัครด้วยตนเองเท่านั้น ณ แหล่งสมาคมนายทหารค่ายธนะรัชต์
ศูนย์การทหาราบ ศูนย์การทหาราบ ค่ายธนะรัชต์ อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตั้งแต่วันที่ 18 มกราคม 2564 – 25 มกราคม 2564 (ในวันและเวลาราชการ)
ดาวน์โหลดไฟล์ “ศูนย์การทหารราบ