“กระทรวงสาธารณสุข “
ลิงค์: https://ehenx.com/15462/ หรือ
ตำแหน่ง: นายช่างเทคนิค,โภชนากร,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี,นักวิเคราะห์นโยบายและแผน,นักวิชาการสาธารณสุข,นักโภชนาการ,นักวิชาการเงินและบัญชี,นักวิชาการพัสดุ
ระดับการศึกษา: ม.ต้น,ปวช.,ปวส.,ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,280-18,000
อัตราว่าง: 16
ปฏิบัติงานที่: อุบลราชธานี (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี)
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 4 ต.ค. – 8 ต.ค. 2564
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กระทรวงสาธารณสุข เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป
ด้วย จังหวัดอุบลราชธานี ประสงค์จะรับสมัครบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงานราชการทั่วไป นิะนั้น อาศัยอำนาจตามประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข การสรรหาและเลือกสรรพนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๒ และประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะงาน ของกลุ่มงาน และการจัดกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ศ.๒๕๕๔ และที่แก้ไชเพิ่มเดิม จึงประกาศรับสมัคร บุคคลเพื่อเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป โดยมีรายละเอียดด้งต่อไปนี้
นายช่างเทคนิค
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11,280-13,800 บาท
คุณวุฒิ : ม.ต้น
โภชนากร
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11,280-13,800 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11,280-13,800 บาท
คุณวุฒิ : ปวช.,ปวส.
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
นักวิชาการสาธารณสุข
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักโภชนาการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการเงินและบัญชี
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการพัสดุ
อัตราว่าง : 4 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
นายช่างเทคนิค
1.ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทาง ช่างยนต์ ทางช่างกลโรงงาน ทางช่างโลหะ ทางช่างไฟฟ้า ทางช่างไฟฟ้ากำลัง ทางช่างก่อสร้าง ทางช่างยนต์ ทางช่างโยธา ทางช่างอิเล็กทรอนิคส์ ทางช่างวิทยุและโทรคมนาคม หรือสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งหรือหลายสาขาวิชา และทางใดทางหนึ่งหรือหลายทางดังกล่าวข้างต้น
2.ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค หรือคุณวุฒิอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ในสาขาวิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม เทคนิควิศวกรรมเครื่องกล เทคนิควิศวกรรมไฟฟ้า เทคนิควิศวกรรมโยธา เทคนิควิศวกรรมสำรวจ เทคนิควิศวกรรมอิเล็กทรอนิคส์ เทคนิคเครื่องเย็นและปรับอากาศ เทคนิควิศวกรรมคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาใด วิชาหนึ่งทางช่างอุปกรณ์การแพทย์ ทางฟิสิกส์อุตสาหกรรมและอุปกรณ์การแพทย์ หรือสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งหรือ หลายสาขาวิชาและทางใดทางหนึ่งหรือหลายทางดังกล่าวข้างต้น
3.ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือคุณวุฒิอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ในสาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาเทคนิคโลหะ สาขาวิชาเทคนิคสถาปัตยกรรม สาขาวิชาการก่อสร้าง สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชา อิเล็กทรอนิคส์ สาขาวิชาโยธา สาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทางช่างอุปกรณ์การแพทย์ ทางฟิสิกส์อุตสาหกรรมและ อุปกรณ์การแพทย์ หรือสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งหรือหลายสาขาวิชาและทางใดทางหนึ่งหรือหลายทางดังกล่าว ข้างต้น
โภชนากร
1.ได้รับประกาศนียบัตรเทคนิค หรืออนุปริญญา หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ ในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ สาขาวิชาเทคนิคการอาหาร
2.ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรืออนุปริญญา หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ ในสาขาวิชาอาหารและโภชนาการ
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
1.ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ในสาขาวิชาพาณิชยการ
2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ในสาขาวิชาการบัญชี การเงินและการธนาคาร การธนาคารและธุรกิจการเงิน เทคนิคการตลาด เลขานุการ ธุรกิจการเกษตร การโรงแรม เศรษฐศาสตร์ สหกรณ์ หรือสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งหรือหลายสาขาวิชาดังกล่าวข้างต้น
3.ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ในสาขาวิชาการบัญชี บริหารธุรกิจ การเงิน และการธนาคารการตลาด การเลขานุการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การจัดการทั่วไป การจัดการสำนักงาน หรือสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง หรือหลายสาขาวิชาดังกล่าวข้างต้น
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
ได้รับปริญญาหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ ในทุกสาขาวิชา
นักวิชาการสาธารณสุข
ได้รับปริญญาหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ ในสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทางจิตวิทยา ทางจิตวิทยาคลินิก สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาแพทยศาสตร์ สาขาวิชาทันตแพทย์ศาสตร์ สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สาขาวิชาเภสัชศาสตร์ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย สาขาวิชาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ สาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สาขา วิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ ทางพล ศึกษาหรือทางสุขศึกษา สาขาวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม หรือทาง วิศวกรรมสุขาภิบาล สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข สาขาวิชาเวชศาสตร์การกีฬา หรือ ทางการแพทย์แผนจีน หรือสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งหรือหลายสาขาดังกล่าว
นักโภชนาการ
ได้รับปริญญาหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทาง วิทยาศาสตร์การอาหาร ทางการอาหาร ทางเทคโนโลยีอาหาร ทางเทคโนโลยีอาหารและโภชนาการ ทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร ทางอาหารและโภชนาการ ทางโภชนาการและการจัดการความปลอดภัยในอาหาร หรือทางใดทางหนึ่งหรือหลายทางดังกล่าวข้างต้น
นักวิชาการเงินและบัญชี
ได้รับปริญญาหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชา บริหารธุรกิจ หรือสาขา หรือสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง หรือสาขาวิชาดังกล่าวข้างต้น
นักวิชาการพัสดุ
ได้รับปริญญาหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ในสาขาวิชาการบัญชี บริหารธุรกิจหรือ ทางการบัญชี ทางบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ สาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทางไฟฟ้า ทางอิเล็กทรอนิกส์ทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ทางเทคโนโลยีการไฟฟ้า ทางโยธา ทางก่อสร้าง หรือสาขาวิชาใด วิชาหนึ่ง หรือสาขาวิชาดังกล่าวข้างต้น
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
นายช่างเทคนิค
ปฏิบัติงานทางเทคนิค ซึ่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการซ่อม สรัาง ประกอบ ดัดแปลง ออกแบบ ติดตั้ง เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ให้เป็นไปตามแบบแปลน และรายละเอียด ที่กำหนด ควบคุมระบบงานที่ใช้ เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ หลายขนิดรวมกัน คำนวณรายการและ ประมาณราคาเกี่ยวกับงานด้งกล่าว ช่วยงาน ตรวจสอบ การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตามกฎหมายว่า ด้วยวิชาชีพวิศวกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย สำรวจท้องที่เพื่อกำหนดเขตและสถานที่เกี่ยวกับการประกันภัย และปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้อง
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างเทคนิค ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบ้ตในด้านต่างๆ ดังนี้
๑.ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ดูแล ควบคุม ตรวจซ่อมและบำรุงรักษาระบบสาธารญปโภค เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ วัสดุและครุภัณฑอื่นๆในความรับผิดชอบ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและพร้อมในการใช้ งาน
(๒) ซ่อม สร้าง ผลิต ประกอบ ด้ดแปลง เขียนหรือออกแบบ ติดตั้ง เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งการทดลองใช้เครื่องจักร เครื่องกล และสิ่งก่อสร้าง เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชา และมาตรฐานงานช่าง และให้เกิดความปลอดภัย
๒.ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำ จัดทำข้อมูล ถ่ายทอดความรู้ทั้งในเชิงทักษะเฉพาะด้านและทักษะ ทั่วไปให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชน เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและมีทักษะเหมาะสมแกการปฏิบัติงานในหน้าที่
(๒). ติดต่อประสานกับหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
โภชนากร
ปฏิบัติงานทางโภชนาการ ซึ่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับส่งเสริมและปรับปรุงภาวะโภชนการ ของประชาชน ศึกษาปัญหาโภชนาการและคุณค่าชองอาหารชนิดต่างๆ ให้ความรู้ด้านโภชนาการแก่ประชาชน ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตและการใช้อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ กำหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับสภาพ ร่างกายและความต้องการของผู้’บริโภค และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
หน้าที่ความรบผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านโภชนาการ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นที่โด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑.ต้านการปฏิบัติการ
(๑) ให้บริการอาหารตามหลักโภชนาการ โภชนาบำบัด เพื่อให้ผู้ไช้บริการได้รับพลังงาน สารอาหารครบลัวนฺและปลอดภัย
(๒) จัดเตรียม ดูแล บำรุงรักษา เครื่องมือ วัสคุ ลุปกรณ์ เพื่อให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและ เป็นไปตามมาตรฐาน
(๓) เก็บรวบรวมขอมูล เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอเจ้าหน้าที่ระดับสูงขึ้นไป
๒.ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำด้านอาหารตามหลักโภชนาการโภชนาบำบัด แก้ผู้ใช้บริการ เพื่อให้มีความรู้สามารถ นำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้
(๒) ประสานงานการทำงานร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้ดำเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่นและ มีประสิทธิภาพ
เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี
ปฏิบัติงานทางวิชาการเงินและบัญชี ชี่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติค่อนข้างยากเกี่ยวกับการเงิน การงบประมาณและการบัญชีทั่วไปของส่วนราชการ เช่น การตรวจสอบ หลักฐานใบสำคัญคู่จ่ายเงิน ลงบัญชี ทำ รายงาน การบัญชี รวบรวมรายละเอียดข้อมูลเกี่ยวกับการขอ จัดตั้งงบประมาณ รายรับ-รายจ่ายประจำปี ทำ หนังสือชี้แจง โต้ตอบ ด้านงบประมาณ พิจารณาจัดสรร งบประมาณรายจ่าย และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะต้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างเทคนิค ตามแนวทาง แบบอย่าง ซ้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกัากับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นที่!ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑.ต้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้เป็นไปตาม เป้าหมายที่กำหนด
(๒) รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบในการจัดทำงบประมาณ ประจำปีของหน่วยงาน
(๓) ตรวจสอบและคูความถูกต้องของเอกสารสำคัญทางการเงิน เพื่อให้เกิดความถูกต้องใน การปฏิบัติงาน
(๔) ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมรอในงานและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ของหน่วยงาน
๒.ต้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจงเกี่ยวกับการเงินและบัญชี แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญแก่ผู้ที่สนใจ
(๒) ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงานและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ของหน่วยงาน
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายและการวางแผน ชี่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับ การศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประสานแผน พิจารณา เสนอแนะ เกี่ยวกับนโยบายและเป้าหมายของส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคงในระดับประเทศ รวมถึงประเด็นป้ญหาทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประกอบการกำหนด นโยบาย จัดทำแผนหรือโครงการของส่วนราชการ หรือพเป็นข้อมูลสำหรับกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาใน ระดับประเทศ แล้วแต่กรณี และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวช้อง
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายและการวางแผน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงาน อื่นที่!,ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านตำงๆ ดังนี้
๑.ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวม วิเคราะห์ และประมวลนโยบายของรัฐบาลและสถานการณ์เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมทั้งในและต่างประเทศ เพื่อนำมาสรูปเสนอประกอบการกำหนดนโยบายและเป้าหมายของส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคง
(๖) รวบรวมช้อมูล และศึกษาวิเคราะห์เบื้องต้น เกี่ยวกับภารกิจหลักและแผนกลยุทธ์ของ ส่วนราชการ หรือทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เพื่อวางแผนกำหนดแผนปฏิบัติงาน หรือโครงการ ให้สามารถบรรลุภารกิจที่กำหนดไวั
(๓) วิเคราะห์นโยบายของส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคง และเสนอข้อคิดเห็น เพื่อช่วยจัดทำแผนการปฏิบัติงาน แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมได้ตามวัตลุประสงฅ์ที่ตั้งไว้
(๔) สำรวจ รวบรวม และประมวลผลข้อมูลการดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและประเด็น ปัญหาทางเศรษฐกิจ การเมือง และลังคม ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการจัดทำแผนงานหรือ กำหนดยุทธศาสตร์
(๔) ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์และนโยบายของรัฐบาล เพื่อประกอบการ เสนอแนะแนวทางการประสานผลักด้นยุทธศาสตร์และนโยบาย ตลอดจนการติดตามประเมินผลให้สอดคล้อง ไปในทางเดียวกัน
๒.ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้ดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓.ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๖) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสรัางความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ
๔.ด้านการบริการ
(๑) รวบรวมข้อมูล เพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดสดองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับการจัดทำแผนงาน โครงการ
(๒)ใหัคำปรึกษา แนะนำ ตอบปัญหา และซ้แจงเรื่องต่างๆ เกี่ยวก็’บงานนโยบายและแผน เพื่อแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน
นักวิชาการสาธารณสุข
ปฏิบัดิงานทางด้านการสาธารณสุข ซึ่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการศึกษาวิเคราะห์ วิจัย วินิจฉัยปัญหาพัฒนาทางด้านการสาธารณสุข เช่น การสุขศึกษา การส่งเสริมสุขภาพการสุขาภิบาล และการ ควบคุมโรค เป็นต้น เพื่อเสนอนโยบาย วางแผนงาน และดำเนินงานด้านการสาธารณสุข วัดและประเมินผล กำหนดระบบและวิธีการด้านนิเทศ นิเทศควบคุมติดตามผล และประเมินผลงานด้านการสาธารณสุขการสอน และอบรมด้านการสาธารณสุข และปฏีบติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวซ้อง
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานด้านวิชาการสาธารณสุข ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑.ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ด้นควัา วิเคราะห์ วิจัย ส่ารวจ รวบรวม ข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้นที่ไม่ซับซ้อน เกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุข เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การเราระวังโรค การควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพ และการต็นฟูสุขภาพ รวมทั้ง การดูแลรักษาพยาบาล การจัดบริการสุขภาพ การสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ การสุขาภิบาล อนามัยสิ่งแวดด้อม พัฒนาระบบกลไกและการบังคับใข้กฎหมายสาธารณสุข เพื่อช่วยในการ เสริมสร้างระบบการสาธารณสุขที่ดี
(๒) สรุปรายงานเกี่ยวกับการดำเนินงาน หรือรายงานการรวบรวมข้อมูลทางวิชาการด้าน สาธารณสุข เสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อประกอบการวางแผนในการปฏิบัติงาน
(๓) ติดตามผลการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัยงานด้านการสาธารณสุข เพื่อนำมาใช้ในการ ปฏิบัติงาน ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ
(๔) ร่วมพัฒนาเบื้อหา องค์ความรู คุณภาพมาตรฐานเกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุข และระบบ บริการสุขภาพ โดยบุรณาการแบบองค์รวมว่าด้วยการคุมครองและล่งเสริมภูมิปัญญา เกี่ยวกับงานด้านการ สาธารณสุขและระบบบริการสุขภาพ และจัดทำคู่มือ แนวทางปฏิบัติ เอกสารวิชาการ สื่อสุขศึกษา ประชาสัมพัน่ธี เพื่อให้ประชาชน มีความรูความสามารถป้องกันตนเองจากโรคภัยและภัยสุขภาพ
(๕) ปฏิบัติการในการส่งเสริมสุขภาพ อนามัยสิ่งแวดล้อม การควบคุมป้องกันโรคและภัย สุขภาพ การเราระวังโรค รักษาเนี้องต้น และติดตามต็นฟสุขภาพในจุมชน ดูแลบัารุงรักษาเครื่องมือและอปกรณ์ ที่พร้อมใช้งาน เพื่อพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพและทั้วถึง
(๖) ช่วยจัดทำฐานข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวซ้องกับงานด้านสาธารณสุข เช่น ข้อมูลของผู้ป่วยกลุ่ม เสี่ยง บุคลากรทางด้านบริการสุขภาพ ประชากร สถานะสุขภาพ ระบาดวิทยา สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ สถานประกอบการทั้งภาครัฐและภาคเอกขน องค์กรภาคีเครือข่าย เพื่อนำมาใช้วิเคราะห์ในการปรับปรุง ระบบงานสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
(๗) ให้บริการคัดกรอง ตรวจวินิจฉัย รักษาเบื้องต้น สอบสวนสืบสวนโรค ติดตามผู้ป่วย ผู้สัมผส เพื่อการเราระวัง ควบคุมป้องกันโรคและภัยสุขภาพรวมทั้งส่งเสริมสุขภาพ และต็นฟูสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมี สุขภาพที่ดี
(๘) ร่วมประเมินสิ่งแวดล้อมการทำงาน ประเมินสถานประกอบการ สถานบริการสาธารณสุข สถานที่สาธารณะทางด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
(๙) ช่วยปฏิบดงานส่งเสริม ควบคุม กำกับมาตรฐาน การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับแพทย์และ สาธารณสุข และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคต้านบริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
๒.ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผืดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้ดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓.ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๖) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก,บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔.ด้านการบริการ
(๑) ตรวจสอบของเครื่องมือลุปกรณ์ต่างๆ ให้มีคุณภาพและเหมาะแก่การนำไปใช้งานอยู่เสมอ รวมทั้งสนับสบุนอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางสาธารณสุข เพื่อให้การบริการดังกล่าวเป็นไปอย่างราบรื่น
(๒) สนับสนนการถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการหรือเทคโนโลยี แก่บุคคลภายในหน่วยงาน เพื่อ เป็นความรู้และให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ให้บริการทางวิชาการ เช่น การจัดทำเอกสาร ตำรา คู่มีอ เอกสาร สื่อเผยแพร่ในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อการเรียนรู้และความเข้าใจในระดับต่างๆ ในงานสาธารณสุข
(๔) ร่วมปฏิบัติการในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร และองค์กร เพื่อให้เป็นบุคลากรที่มี ความชำนาญ และปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) นิเทศงานด้านสาธารณสุขให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อให้สามารถ ปฏิบ้ติงานในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
นักโภชนาการ
ปฏิบัติงานทางโภชนาการ ชี่งมีลักษณะที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ปัญหาโภชนาการ ด้านต่างๆ เพื่อปรับปรุงแก้ไขและส่งเสริมภาวะโภชนาการของประชาชน สำรวจและรวบรวมข้อมูลโภชนาการฺ ของประชาชนภาคต่างๆ เพื่อหาสาเหตุของโรคขาดสารอาหาร วางแผนป้องกัน และบำบัดโรคขาดสารอาหาร วิจัยด้านอาหารและโภชนาการเพื่อกำหนดเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ได้เหมาะสม ทดลองตำรับอาหารใหม่ตามหลักวิชาอาหารและโภชนาการ ส่งเสริมการผลิตอาหารที่จำเป็นแก่การปรับปรุง ภาวะโภชนาการ คันคว้า ทดลองและพัฒนาสูตรอาหาร ซึ่งมีตุณค่าด้านโภชนาการ กำหนดรายการอาหาร ควบคุมและให้คำแนะนำในการประกอบอาหารเฉพาะโรค จัดสอน ฟิกอบรมเจ้าหน้าที่ อาสาสมัครหมู’บัานและ ประชาชนทั่วไป และเผยแพร่ความรูประชานิเทศด้านโภชนาการทางสื่อมวลชนโดยวิธีการต่างๆ และปฏิบัติ หน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใชความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานโภชนาการ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นที่!ด้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑.ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา คันคว้า สำรวจ รวบรวม วิเคราะห์ วิจัย เบื้องต้นด้านอาหารและโภชนาการ เพื่อ สนับสนุน ส่งเสริม ป้องกัน พื่นปุ่ภาวะโภชนาการของประชาชน
(๒) ร่วมสนับสนุน ส่งเสริม ป้องกัน คุ้มครอง แก้ไข พื่นฟูและจัดการสิ่งแวดล้อมที่เบื้อต่อการมี พฤติกรรมที่ดีของประชาชน เพื่อให้มีภาวะโภชนาการที่ดี
(๓) ร่วมติดตาม และประเมินผล การดำเนินงานด้านอาหารและโภชนาการ เพื่อนำมาปรับปรุง ระบบงานให้มีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับสถานการณ์
(๔) ร่วมเสาระวังและติดตามด้านอาหารและโภชนาการ กับสหวิขาชีพและภาคีเครือข่าย เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในประชาชนที่มีความเสี่ยง
(๕) ร่วมจัดการองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ เพื่อพัฒนาระบบงานและเสริมสร้าง ศักยภาพขององค์กรและภาคีเครือข่าย
(๖) ร่วมจัดทำฐานข้อมูลด้านอาหารและโภชนาการ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ
(๗) ร่วมจัดทำตำรับอาหาร และสื่อโภชนศึกษา สำหรับประชาชน เพื่อให้ได้รับพลังงานและ สารอาหารที่เหมาะสม
๒.ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดขอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้ดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓.ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔.ต้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ความรู้ เทคโนโลยีทางด้านอาหารและโภชนาการ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะของ ประชาชน
(๒) สนับสบุนการถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการหรือเทคโนโลยีแก่บุคคลภายในหน่วยงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ให้บริการสื่อทางด้านอาหารและโภชนาการในรูปแบบต่างๆ เพื่อการเผยแพร่ความรู้ สู่ประชาชน
นักวิชาการเงินและบัญชี
ปฏิบัติงานทางวิชาการเงินและบัญชี ซึ่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับเงิน การงบประมาณ การบัญชีทั่วไปชองส่วนราชการ การศึกษา วิเคราะห์ติดตาม ประเมินผล .การใช้จ่าย การวิเคราะห์ฐานะทาง การเงินและบัญชี การวิเคราะห์งบประมาณ การพัฒนาระบบงานคลัง ตรวจสอบความถูกต้องของการลงบัญชี ประเภทต่างๆ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับวิชาการเงินและบัญชี ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นที่ไต้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในต้านต่างๆ ดังนี้
๑.ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำบัญชี เอกสารรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน ทั้งเงินในและเงินนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน เพื่อแสดงสถานะทางการเงินและใช้เป็นฐานข้อมูลที่ถูกต้องตามระเบียบ วิธีการบัญชีของส่วน ราชการ
(๒) รวบรวมช้อมูล และรายงานทางการเงินของส่วนราชการ เพื่อพร้อมที่จะปรับปรูงข้อมูลให้ ถูกต้องและทันสมัย
(๓) จัดทำและจัดสรรงบประมาณแก่หน่วยงานของรัฐ เพื่อให้การจัดสรรงบประมาณตรงกับ ความจำเป็นและวัตจุประสงค์ของแต่ละหน่วยงาน
(๔) ศึกษาวิเคราะห์ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณชองหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้การใช้เงินเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและใช้เป็นแนวทางในการปรับปรูงการจัดทำและจัดสรรงบประมาณ
(๕) ดูแลการรับและจ่ายเงิน สถานะทางการเงิน จรวจสอบเอกสารสำคัญการรับ-จ่ายเงิน เพื่อให้การรับ-จ่ายเงินขององค์กรมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติการถูกต้องตามระเบียบการปฏิบัติของราชการ
(๖) ถ่ายทอดความ?ด้านงานพัสดุแก่เข้าหน้าที่ระดับรองลงมา เช่น ให้คำแนะนำ ในการปฏิบัติงาน วางโครงการกำหนดหลักสูตรและฟิกอบรม จัดทำคูฏีอประจำสำหรับการฟิกอบรมและวิธีใช้ อปกรณ์เครื่องมือที่ถูกต้อง เป็นต้น เพื่อถ่านทอดความร้ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน และกำหนด
๒.ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้ดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓.ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธึ๋ตามที่กำหนด
(๒) ขี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมีอในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔.ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานพัสดุตามที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระด้บ เบื้องด้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เบ็เนประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่ เกี่ยวกับงานพัสดุเพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานและใข้ประกอบการพิจารณา กำหนด นโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
นักวิชาการพัสดุ
ปฏิบัติงานทางวิชาการพัสดุ ชี่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ รายละเอียดของ พัสดุ เพื่อกำหนดมาตรฐานและคุณภาพการร่างสัญญาชื้อและสัญญาจาง การเสนอความเห็นเกี่ยวกับพัสดุ การ วางระบบเกี่ยวกับระเบียบ และวิธีปฏิบัติงานด้านการพัสดุ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวช้อง
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับพัสดุ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑.ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวมและศึกษาข้อมูลในงานพัสดุ เพื่อกำหนด และมาตรฐานของพัสดุ
(๖) ตรวจสอบและการดูแลการจัดชื้อจัดจางแบบต่างๆ เช่น การตกลงราคา การสอบราคา ประกวดราคา วิธีพิเศษ และวิธีกรณีพิเศษ เพื่อเป็นไปตามระเบียบของสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ
(๓) จัดทำรายละเอียดบัญชี หรือทะเบียนคุมสินทรัพย์เกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะของวัสดุ เพื่อให้สามารถตรวจสอบวัสดุต่างๆ ได้เดยสะดวก
(๔) ช่อมแชมและดูแลรักษาพัสดุในครอบครองเพื่อให้มีสภาพที่พร้อมใช้งาน
(๕) จำหน่ายพัสดุเมื่อชำรุดหรือเสื่อมสภาพ หรือไม่จำเป็นในการใช้งานทางราชการอีกต่อไป เพื่อให้พัสดุเกิดประโยขนไห้แก่ทางราชการได้มากที่สุด
(๖) ถ่ายทอดความรู้ด้านงานพัสดุแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เช่น ให้คำแนะนำ ในการปฏิบัติงาน วางโครงการกำหนดหลักสูตรและฟิกอบรม จัดทำคู่มึอประจำสำหรับการฟิกอบรมและวิธีใช้ อุปกรณ์เครื่องมือที่ถูกต้อง เป็นต้น เพื่อถ่านทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน และกำหนด
๒.ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้ดาเนินงานเป็นไปตามเข้าหมายผลสัมฤทธที่กำหนด
๓.ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมีอ และผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๖) ขี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเช้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔.ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและขี้แจงเกี่ยวกับงานพัสดุตามที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระดับ เบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อใหัผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
(๖) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานพัสดุเพื่อให้สอดคล้องและสนับสบุนภารกิจของหน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณา กำหนด นโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ
วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กระทรวงสาธารณสุข :ตนเอง
ผู้ประสงค์จะสมัครยื่นใบสมัครด้วยตนเอง ณ ห้องประชุมริมน้ำ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม 2564 – 8 ตุลาคม 2564 (ในวันและเวลาราชการ)
ดาวน์โหลดไฟล์ “กระทรวงสาธารณสุข
แผนที่ ประกาศ 1 |