สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา

ลิงค์: https://ehenx.com/16130/ หรือ
ตำแหน่ง: นิติกรปฏิบัติการ,วิทยากรปฏิบัติการ,นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ,นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ,นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ,ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติการ,เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภาคปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,นายช่างปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวช.,ปวส.,ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 9,400-15,000
อัตราว่าง: 61
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 10 ม.ค. – 31 ม.ค. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**



สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา เปิดรับสมัคร

ประกาศสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราขการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ และตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน

ด้วยสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาจะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ เป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญ ในตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ และตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ หนังสือคณะกรรมการข้าราชการรัฐสภา ที่ ๔/๒๕๕๘ (ว ๑) ลงวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๘ เรื่อง การสรรหาโดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ และ ที่ ๕๙/๒๕๖๑ (ว ๑๕) ลงวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๑ เรื่อง การแก้ไขเพิ่มเดิมหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการสอบแข่งขัน การขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ และรายละเอียดเกี่ยวกับการสอบแข่งขัน จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขัน เพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการรัฐสภาสามัญ ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ และตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน โดยมีรายละเอียดลังนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

นิติกรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 12 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


วิทยากรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 7 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 10 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000- บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐส ภาคปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 7 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*


นายช่างปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500- บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 13 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 9400- บาท

คุณวุฒิ : ปวช.

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

นิติกรปฏิบัติการ

1) ได้รับปริญญาตรีสาขาวิชานิติศาสตร์ และ
2) เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) ของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


วิทยากรปฏิบัติการ

1) ได้รับปริญญาตรีสาขาทางสังคมศาสตร์ และ
2) เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) ของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

1) ตำแหน่งนักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการภาษาจีน ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือรัฐศาสตร์ หรือรัฐประศาสนสตร์ หรือกฏหมายระหว่างประเทศ หรือเศรษฐศาสตร์ หรือภาษาศาศตร์ และ มีความรู้ความสามารถ และทักษะในการติดสามสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาจีนได้เป็นอย่างดี
2) ตำแหน่งนักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการภาษาอินโดนีเซีย ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือรัฐศาสตร์ หรือรัฐประศาสนสตร์ หรือกฏหมายระหว่างประเทศ หรือเศรษฐศาสตร์ หรือภาษาศาศตร์ และ มีความรู้ความสามารถ และทักษะในการติดสามสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาอินโดนีเซียได้เป็นอย่างดี
3) ตำแหน่งนักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการภาษารัสเซีย ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หรือรัฐศาสตร์ หรือรัฐประศาสนสตร์ หรือกฏหมายระหว่างประเทศ หรือเศรษฐศาสตร์ หรือภาษาศาศตร์ และ มีความรู้ความสามารถ และทักษะในการติดสามสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษารัสเซียได้เป็นอย่างดี
4) เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) ของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ

1) ได้รับปริญญาตรี ในสาขาวิชาบัญชี หรือพณิชยศาสตร์ หรือบริหารธุรกิจ หรือเศรษฐศาสตร์ หรือนิติศาสตร์ และ
2) เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) ของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

1) ได้รับปริญญาตรี ในสาขาวิชาทางสังคมศาสตร์ และ
2) เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) ของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติการ

1) ได้รับปริญญาตรี ในสาขาวิชานิติศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ หรือวิชารัฐประศาสนศาสตร์
2) มีสภาพร่างกายแข็งแรง เหมาะสมกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ และ
3) เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) ของสำนักงาน ก.พ. ระดับปริญญาตรีขึ้นไป


เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐส ภาคปฏิบัติงาน

1) มีสภาพร่างกาย เช่น ส่วนสูง น้ำหนัก ความแข็งแรง ที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงานในหน้าที่ และ
2) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และ
3) เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) ของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรชั้นสูงขึ้นไป


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ และ
2) เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) ของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรชั้นสูงขึ้นไป


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาทางบัญชี หรือพณิชยการ หรือเลขานุการ และ
2) เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) ของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรชั้นสูงขึ้นไป


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และ
2) มีความสามารถในการใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่นๆ ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสมกับการปฏิบัตงาน และสามารถพิมพ์ดีดภาษาไทย ไม่น้อยกว่านาทีละ 25 คำ และภาษาต่างประเทศ ไม่น้อยกว่านาทีละ 25 คำ และ
3) เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) ของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรชั้นสูงขึ้นไป


นายช่างปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาช่างไฟฟ้า และ
2) เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) ของสำนักงาน ก.พ. ระดับประกาศนียบัตรชั้นสูงขึ้นไป


เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน

1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือเลขานุการ และ
2) มีความสามารถในการจดรายงานการประชุมด้วยวิธีการอื่นใดที่ส่วนราชการเจ้าสังกัด เห็นว่า เหมาะสมกับการปฏิบัติงานและถอดถ้อยคําเป็นตัวพิมพ์ มีความสามารถใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์อื่นได้อย่างเหมาะสมกับ การปฏิบัติงาน รวมทั้งพิมพ์ภาษาไทยได้ในอัตราความเร็วนาทีละไม่น้อยกว่า 36 คํา และพิมพ์ภาษาอังกฤษได้ ในอัตราความเร็วนาทีละไม่น้อยกว่า 25 คํา และ
3) เป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก) ของสํานักงาน ก.พ. ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพขึ้นไป

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

นิติกรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ร่าง โต้ตอบหนังสือเป็นภาษาต่างประเทศ งานล่าม งานแปลเอกสารภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ เพื่อใช้ในการติดต่อประสานงานกับองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศหรือองค์กร ระหว่างประเทศ
(๒) รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ทำความเห็นและติดตามประเมินผล จัดทำบันทึก สรุปรายงานการประชุมความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อนำเสนอผู้บังคับบัญชา
(๓) จัดเตรียมงานการประชุมองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศและการไปร่วมประชุม ในต่างประเทศชองสมาชิกรัฐสภา สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รวมถึงข้อมูลสำหรับการเจรจา ทางวิชาการ หรือความร่วมมือกับต่างประเทศ เพื่อให้การประชุมเจรจาบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนด
(๔) ส่งเสริม สนับสนุน ดำเนินการเกี่ยวกับทุนการศึกษา ฝึกอบรม คูงาน หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานความร่วมมือ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๔) ติดต่อประสานงานกับองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ สถาบันระหว่างประเทศอื่น ๆ บุคคล หรือหน่วยงานอื่นที่รัฐสภาไทยเกี่ยวข้อง รวมทั้งดำเนินงานเกี่ยวกับ งานพิธีการทูตและอำนวยความสะดวกเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานชองหน่วยงาน หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทึมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกียวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
(๑) เผยแพร่ความรู้ทั้วไปด้านองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ และการต่างประเทศ แก่ผู้มาติดต่อ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและถูกต้อง เผยแพร่ความรู้ให้คำปรึกษาและชี้แจงตอบปัญหาแก่ ผู้ที่มาติดต่อเพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย
(๒) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับงานองค์การรัฐสภาต่างประเทศ และงานต่างประเทศ เพื่อจัดทำ


วิทยากรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ร่าง โต้ตอบหนังสือเป็นภาษาต่างประเทศ งานล่าม งานแปลเอกสารภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ เพื่อใช้ในการติดต่อประสานงานกับองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศหรือองค์กร ระหว่างประเทศ
(๒) รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ทำความเห็นและติดตามประเมินผล จัดทำบันทึก สรุปรายงานการประชุมความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อนำเสนอผู้บังคับบัญชา
(๓) จัดเตรียมงานการประชุมองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศและการไปร่วมประชุม ในต่างประเทศของสมาชิกรัฐสภา สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รวมถึงข้อมูลสำหรับการเจรจา ทางวิชาการ หรือความร่วมมือกับต่างประเทศ เพื่อให้การประชุม0จรจาบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนด
(๔) ส่งเสริม สนับสนุน ดำเนินการเกี่ยวกับทุนการศึกษา ผึเกอบรม ดูงาน หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานความร่วมมือ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๕) ติดต่อประสานงานกับองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ สถาบันระหว่างประเทศอื่น ๆ บุคคล หรือหน่วยงานอื่นที่รัฐสภาไทยเกี่ยวข้อง รวมทั้งดำเนินงานเกี่ยวกับ งานพิธีการทูตและอำนวยความสะดวกเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบรอย
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทึมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก,บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
(๑) เผยแพร่ความรู้ทั้วไปด้านองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ และการต่างประเทศ แก่ผู้มาติดต่อ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและถูกต้อง เผยแพร่ความรู้ ให้คำปรึกษาและชี้แจงตอบปัญหาแก่ ผู้ที่มาติดต่อเพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย
(๒) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับงานองค์การรัฐสภาค่างประเทศ และงานต่างประเทศ เพื่อจัดทำ


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิเทศสัมพันธ์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ร่าง โต้ตอบหนังสือเป็นภาษาต่างประเทศ งานล่าม งานแปลเอกสารภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ เพื่อใช้ในการติดต่อประสานงานกับองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศหรือองค์กร ระหว่างประเทศ
(๒) รวบรวมฃ้อมูล วิเคราะห์ ทำความเห็นและติดตามประเมินผล จัดทำบันทึก สรุปรายงานการประชุมความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อนำเสนอผู้บังคับบัญชา
(๓) จัดเตรียมงานการประชุมองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศและการไปร่วมประชุม ในต่างประเทศของสมาชิกรัฐสภา สมาชิกวุฒิสภา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รวมถึงข้อมูลสำหรับการเจรจา ทางวิชาการ หรือความร่วมมือกับต่างประเทศ เพื่อให้การประชุมเจรจาบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนด
(๔) ส่งเสริม สนับสนุน ดำเนินการเกี่ยวกับทุนการศึกษา ขิกอบรม ดูงาน หรือด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานความร่วมมือ เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๔) ติดต่อประส■นงานกับองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ องค์กรระหว่างประเทศ สถาบันระหว่างประเทศอื่น ๆ บุคคล หรือหน่วยงานอื่นที่รัฐสภาไทยเกี่ยวข้อง รวมทั้งดำเนินงานเกี่ยวกับ งานพิธีการทูตและอำนวยความสะดวกเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานชองหน่วยงาน หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธที่กำหนด
๓) ต้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทึมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกิยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
(๑) เผยแพร่ความรู้ทั่วไปด้านองค์การรัฐสภาระหว่างประเทศ และการต่างประเทศ แก่ผู้มาติดต่อ เพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและถูกต้อง เผยแพร่ความรู้ให้คำปรึกษาและชี้แจงตอบปัญหาแก่ ผู้ที่มาติดต่อเพื่อให้เกิดความเข้าใจอันดีและถูกต้องตามระเบียบกฎหมาย
(๒) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับงานองค์การรัฐสภาต่างประเทศ และงานต่างประเทศ เพื่อจัดทำ


นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการพัสดุ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) รวบรวมและ?กษาข้อมูลในงานพัสดุ เพื่อกำหนดคุณภาพและมาตรฐานของพัสดุ
(๒) ตรวจสอบและดูแลการจัดชื้อจัดจ้างแบบต่าง ๆ เช่น การตกลงราคา การสอบราคา ประกวดราคาวิธีพิเศษและวิธีกรณีพิเศษ เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบของสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การพัสดุ
(๓) จัดทำรายละเอียดบัญชี หรือทะเบียนคุมทรัพย์สินเกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะของวัสดุ เพื่อให้สามารถตรวจสอบวัสดุต่าง ๆ ไดโดยสะดวก
(๔) ซ่อมแซมและดูแลรักษาพัสดุในครอบครอง เพื่อให้มีสภาพที่พร้อมใช้งาน
(๔) จำหน่ายพัสดุเมื่อชำรุดหรือเสื่อมสภาพ หรือไม่จำเป็นในการใช้งานทางราชการอีกต่อไป เพื่อให้พัสดุเกิดประโยชน์แก่ทางราชการฝ่ายรัฐสภาได้มากที่สุด
(๖) ให้คำแนะนำในการปฏิบัติงาน วางโครงการกำหนดหลักสูตรและผิกอบรม จัดทำคู่มือ ประจำสำหรับการ‘ผิกอบรมและวิธีใช้อุปกรณ์เครื่องมือที่ถูกต้อง เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์ ในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและข้อกำหนด
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเปัาหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธื้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
(๑)ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจงเกี่ยวกับงานพัสดุที,ตนมีความรับผิดขอบในระดับ เบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที,สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานพัสดุ เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณากำหนด นโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับตัน ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านการบริหารหรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประกอบการวางระบบ การจัดทำมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลชองส่วนราชการสังกัดรัฐสภา
(๒) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประกอบการดำเนินงาน เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
(๓) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการกำหนดความต้องการและ ความจำเป็นในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การวางแผนทางก้าวทนัาในอาชีพ การจัดหลักสูตรและการถ่ายทอด ความรู้ การจัดสรรทุนการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงการวางแผนและเสนอแนะนโยบายการพัฒนา ทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา และแผนการจัดสรรทุนการศึกษาและการฟิกอบรม
(๔) ศึกษา รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์งาน เพื่อประกอบการกำหนดตำแหน่ง และ การวางแผนอัตรากำลังของส่วนราชการ
(๔) ศึกษา รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการวางหลักเกณฑ์การบริหารผล การปฏิบัติงาน และการบริหารค่าตอบแทน
(๖) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบข้อมูล ก้อยคำ ข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการดำเนินการ ทางวินัย การรักษาวินัยและจรรยา
(๗) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาระบบพิทักษ์คุณธรรม
(๘) ดำเนินการเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาและเลือกสรร เพื่อบรรจุและแต่งตั้งผู้มิความรู้ ความสามารถให้ดำรงตำแหน่ง
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือ ในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาเบื้องต้นแก่หน่วยงาน ข้าราชกรรัฐสภา พนักงานหรือ เจ้าหน้าที่ชองรัฐสภา เกี่ยวกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสร้างความเข้าใจและสนับสนุนงาน ตามภารกิจชองหน่วยงาน
(๒)ให้บริการข้อมูล เกี่ยวกับการบริหารหรือก-รพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสนับสนุนภารกิจ ของบุคคลหรือหน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์และมาตรการต่าง ๆ
(๓) ดำเนินการจัดสวัสดิการ และการส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อเพิ่มพูน ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน


ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านรักษาความสงบเรียบร้อย และรักษาความปลอดภัยบุคคล สถานที, และทรัพย์สิน การดำเนินการบังคับใช้กฎหมายในฐานะเจ้าพนักงาน ตามประมวลกฎหมายอาญา โดยมีอ0นาจหน้าที่เข่นเดียวกับเจ้าพนักงานปกครองหรือตำรวจ ตามประมวล กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาภายในบริเวณรัฐสภา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ เสนอแนะนโยบาย ยุทธคาสตร์ มาตรการ แนวทางการปฏิบัติงาน ตามระบบการรักษาความสงบเรียบร้อยและรักษาความปลอดภัยบุคคล สถานที่ และทรัพย์สิน ภายในบริเวณรัฐสภา
(๒) ปฏิบัติงานรักษาความสงบเรียบร้อย บังคับใช้กฎหมาย และรักษาความปลอดภัย บุคคลสถานที่ และทรัพย์สินภายในบริเวณรัฐสภา ตามที่ได้รับมอบหมาย หรือมีหน้าที่รับผิดชอบ
(๓) ปฏิบัติหน้าที่อารักขาบุคคล และรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญตามภารกิจของรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา ที่ผู้บังคับบัญชามอบหมายหรือที่มีแผนหรือคำสั่งกำหนดไว้
(๔) ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวช้องกับหน้าที่ชองพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ โดยปฏิบัติ หน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ได้แก่ การสืบสวน ตรวจสอบช้อเท็จจริง แสวงหาและรวบรวมข้อมูล หลักฐาน การตรวจตรา การตรวจลาดตระเวน การระงับป้องกันแก่ไขก่อนมีการกระทำผิดหรือเกิดเหตุการณ์ การระงับปราบปราม จับกุมผู้กระทำผิดเมื่อเกิดเหตุ การรักษาร่องรอย พยานหลักฐานและสถานที่เกิดเหตุ การตรวจต้นบุคคล ยานพาหนะ หรือสถานที่ ตามขอบเขตอำนาจหน้าที่ การให้ความช่วยเหลือ แนะนำ และบริการแก่ประชาชน
(๕) แก่ไขปัญหาเฉพาะหน้ากรณีเหตุเร่งดวนฉุกเฉินภายในขอบเขตที่กำหนด และ รายงานสภาพปัญหาที่มีผลกระทบต่อการรักษาความปลอดภัย และความสงบเรียบร้อย ให้ผู้บังคับบัญชา ทราบโดยทันที
(๖) ดำเนินการทางการข่าวที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่ความรับผิดชอบ
(๗) รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการใช้งานชองระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการติดต่อสื่อสารเพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ทีรับผิดชอบมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
(๘) รายงานการบฏิบัดิงานประจำวัน
(๙) ริเริ่มเสนอความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ทีรับผิดชอบหรือที่ได้รับมอบหมาย
(๑๐) อำนวยความสะดวก ให้บริการ ควบคุม การจราจร การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภายในบริเวณรัฐสภา
๒) ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ ปรับปรุงแก่ไข ตรวจสอบ และติดตามประเมินผล เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย และผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓) ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกสมาซิกรัฐสภา บุคคลหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔) ด้านการบริการ
ให้บริการด้านข้อมูล ข้อสนเทศ รวมทั้งการอำนวยความสะดวกการปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับหน้าที่รับผิดชอบ


เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐส ภาคปฏิบัติงาน

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านรักษาความสงบเรียบร้อยและ รักษาความปลอดภัยบุคคลและทรัพย์สินภายในบริเวณรัฐสภา ปฏิบัติงานตามคำสั่งหรือแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานรักษาความปลอดภัยเรียบร้อย และรักษาความปลอดภัย โดยการรักษาการณ์ ในบริเวณพืนที่ปกติ เช่น ควบคุมการเข้า – ออก ของบุคคล และยานพาหนะบริเวณรอบนอก จัดการจราจร ในรัฐสภา วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎรให้เป็นระเบียบ เป็นต้น หรือ รักษาการณ์ในบริเวณพื้นที่ค่อนข้งสำคัญ เช่น หน้าห้องรองประธานรัฐสภา รอบห้องประขุมรัฐสภาในวันที่มีการประชุม เป็นต้น หรือรักษาการณ์ใน บริเวณพื้นที่สำคัญสูง เช่น หน้าห้องประธานรัฐสภา ภายในห้องประชุมรัฐสภาในวันที่มีการประชุม หรือเป็น ผู้ช่วยหัวหน้าชุดเวรรักษาการณ์โนการกำกับ เข้าเวรรักษาการณ์
(๒) ติดตามอารักขาบุคคล และรักษาความปลอดภัยทรัพย์สินเกี่ยวกับงานของรัฐสภา วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร
(๓) หาข่าวที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัย
(๔) แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้ากรณีเร่งด่วนฉุกเฉินภายในขอบเขตที่กำหนด และรายงาน สภาพปัญหาที่มีผลกระทบต่อการรักษาความปลอดภัย ให้ผู้บังคับบัญขาทราบโดยทันที
(๕) รายงานการปฏิบัติงานประจำวัน
(๖) ริเริ่มเสนอความเห็นเกี่ยวกับการจัดเวรรักษาการณ์ การปฏิบัติงาน และการ ประสานงานรักษาความปลอดภัย
๒) ด้านการบริการ
ตอบคำถาม ขี้แจง ให้คำแนะนำ และอำนวยความสะดวกเรื่องต่าง ๆ ในเรื่องที่รับผิดชอบ แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านเครื่องคอมพิวเตอร์ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ควบคุม ดูแล ติดตั้ง บำรุงรักษา ซ่อมแซม ตรวจสอบการทำงาน แก้ไขปัญหากรใช้งาน ของระบบเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ระบบเครือข่ายสื่อสาร รวมทั้งระบบสนับสนุนต่าง ๆ เพื่อใช้ระบบงานต่าง ๆ สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ
(๒) ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูล ปรับปรุง ดูแล รักษาความปลอดภัย จัดเก็บ สำรอง กูคืนข้อมูล เพื่อสนับสนนการใช้ประโยชน์ข้อมูล และป้องกันการสูญหายของข้อมูล
(๓) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผน บำรุงรักษา
๒) ด้านการบริการ
(๑)ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหาให้แกผู้ใช้งานและผู้รับบริการ ทั้งภายใน และภายนอกหน่วยงาน เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
(๒) ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้และข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นโดยบฏิบัดิงานด้านการเงินและบัญชี ตามแนวทาง แบบอย่าง ขันตอน และวิธีการทีชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามทีไต้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑)ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำและปฏิบัติงานด้านเอกสารหางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้ งานเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
(๒) รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใขัประกอบในการทำงบประมาณ ประจำปีของหน่วยงาน
(๓) ตรวจสอบและดูความถูกต้องของเอกส-รสำคัญทางการเงิน เพื่อให้เกิดความถูกต้อง ในการปฏิบัติงาน
(๔) ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราขการ เอกชน หรือประชาขน ทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงาน และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อ การทำงานของหน่วยงาน
๒) ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี แกเจ้าหน้าที่ระดับ รองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญแก่ผู้ที่สนใจ
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและความร่วมมือในงานการเงินและบัญชี และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญ ที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานของหน่วยงาน


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ บันบึกข้อมูล หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบันทึกข้อมูลและพิมพ์งาน งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือโต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม เพื่อสนับสนุนให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้ โดยสะดวก ราบรื่น และมีหลักฐานตรวจสอบได้
(๒) รวบรวมข้อมูล จัดทำทะเบียน ควบคุม ปริมาณและการจัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐาน หนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวกต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ใช้งาน และอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
(๔) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒) ต้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้ที่มาติดต่อราชการ 0พื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ ต่อไป
(๓) บันทึกข้อมูล พิมพ์งาน หรือผลิตเอกสารต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจ ชองหน่วยงาน และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย


นายช่างปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจ ทดสอบ สร้าง ซ่อม ประกอบ ดัดแปลง ติดตั้ง และบำรุงรักษา เครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องใช้ที่เกี่ยวกับไฟฟ้า คำนวณราคา และประมาณราคาในการดำเนินงานดังกล่าว จัดเก็บรักษา เบิกจ่าย เครื่องมือ เครื่องใช้ และวัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เป็นต้น หรือตำแหน่งที่ปฏิบัติงานบริหารด้านช่างไฟฟ้าในฐานะหัวหน้าหน่วยงาน และผู้ช่วยหัวหน้าหน่วยงาน และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ คัดแปลง ปรับปรุง ควบคุม การใช้งาน ดูแล บำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบ เครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบ อิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้ อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของหน่วยงานภายในและภายนอก
(๒) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผน บำรุงรักษา
(๓) ปรับเทียบค่ามาตรฐานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการออกใบรับรองตามที่หน่วยงาน หรือกฎหมายกำหนด
๒) ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เพื่อให้การปฏิบัติงาน เป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
(๒)ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แก้ไขปัญหาให้แก่ผู้รับบริการ เพื่อให้สามารถใช้งานได้ อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น โดยปฏิบัติงานด้านจดรายงานการประชุมต่าง ๆ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที,ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑) ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานจดรายงานการประชุมต่าง ๆ ด้วยวิธีการที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่า เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน และถอดถ้อยคำเป็นตัวพิมพ์ โดยใช้ความรัดวามสามารถในการใช้คำที่ถูกต้อง ตามหลักวิชาภาษาไทย และรวบรวมเป็นรายงานการประชุม
(๒) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒) ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกิยวข้อง เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้ที่มาติดต่อราชการ เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนำไปไข้ประโยชน์ได้ต่อไป

วิชาที่สอบ

นิติกรปฏิบัติการ

หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งชันภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนน เต็ม ๒๐๐ คะแนน)
สอบความรู้ความสามารถที่ใชัในการปฏิบัติงานในหน้าที่ในตำแหน่งนักวิเทศสัมพันธ์ โดยวิธีการสอบข้อเขียน ดังนี้
๑) ความรู้ความสามารถ กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวซ้อง
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และข้อบังคับการประชุม วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) กฎหมาย และกฎระเบียบราชการอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) ความรู้ในการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
(๒) ความรู้ด้านภาษาอังกฤษและภาษาจีน
–    งานล่าม งานแปล สรุปหรือเรียบเรียงเอกสาร และเผยแพร่เอกสารทางราชการ ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน
–    การร่าง โต้ตอบหนังสือเป็นภาษาอังกฤษและภาษาจีน
–    การดีความ สรุป การแปลความภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษและภาษาจีน รวมถึง การแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและภาษาจีน
(๓) ความรู้เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ


วิทยากรปฏิบัติการ

หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนน เต็ม ๒๐๐ คะแนน)
สอบความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ในตำแหน่งนักวิเทศสัมพันธ์
โดยวิธีการสอบข้อเซียน ดังนี้
๑) ความรู้ความสามารถ กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวซ้อง
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และข้อบังคับการประชุม
วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) กฎหมาย และกฎระเบียบราชการอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) ความรู้ในการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
(๒) ความรู้ด้านภาษาอังกฤษและภาษาอินโดนีเซีย
–    งานล่าม งานแปล สรุปหรือเรียบเรียงเอกสาร และเผยแพร่เอกสารทางราชการ ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาอินโดนีเซีย
–    การร่าง โต้ตอบหนังสือเป็นภาษาอังกฤษและภาษาอินโดนีเซีย
– การดีความ สรุป การแปลความภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษและภาษาอินโดนีเซีย รวมถึงการแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและภาษาอินโดนีเซีย
(๓) ความรู้เกี่ยวกบงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ


นักวิเทศสัมพันธ์ปฏิบัติการ

หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันภาคความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนน เต็ม ๒๐๐ คะแนน)
สอบความรู้ความสามารถที่ใชัในการปฏิบัติงานในหน้าที่ในตำแหน่งนักวิเทศสัมพันธ์ โดยวิธีการสอบข้อเชียน ดังนี้
๑) ความรู้ความสามารถ กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวซ้อง
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และข้อบังคับการประชุม วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) กฎหมาย และกฎระเบียบราชการอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) ความรู้ในการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้ด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
(๒) ความรู้เกี่ยวกับด้านภาษาอังกฤษและภาษารัสเชีย
–    งานล่าม งานแปล สรุปหรือเรียบเรียงเอกสาร และเผยแพร่เอกสารทางราชการ ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษารัสเชีย
–    การร่าง โต้ตอบหนังสือเป็นภาษาอังกฤษและภาษารัสเชีย
–    การดีความ สรุป การแปลความภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษและภาษารัสเชีย
รวมถึงการแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยและภาษารัสเชีย
(๓) ความรู้เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ


นักวิชาการพัสดุปฏิบัติการ

หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันภาคความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนน เต็ม ๒๐๐ คะแนน)
สอบความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ในตำแหน่งนักวิชาการพัสดุ โดยวิธีการ สอบข้อเขียน ดังนี้
๑) ความรู้ความสามารถ กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวซ้อง
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และข้อบังคับการประชุม วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) กฎหมาย และกฎระเบียบราชการอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) ความรู้ในการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ. ศ. ๒๕๖๐
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
(๓) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ และระเบียบรัฐสภา
ว่าด้วยการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แกิไขเพิ่มเดิม
(๔) ความรู้เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันภาคความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนน เต็ม ๒๐๐ คะแนน)
สอบความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ในตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคล โดยวิธีการสอบข้อเขียน ดังนี้
๑) ความรู้ความสามารถ กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวช้อง
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และข้อบังคับการประชุม วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) กฎหมาย และกฎระเบียบราชการอื่นที่ใข้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) ความรู้ในการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
(๒) ความรู้เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ


ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติการ

หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนน เต็ม ๒๐๐ คะแนน)
สอบความรู้ความสามารถที่ใข้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ในตำแหน่งตำรวจรัฐสภา (เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภา) โดยวิธีการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ดังนี้
สอบข้อเขียน
๑) ความรู้ความสามารถ กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
(๑) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และข้อบังคับการประชุม วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๖๒
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๓) กฎหมาย และกฎระเบียบราชการอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) ความรู้ในการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และที่แกิไขเพิ่มเดิม
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยของรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๙
(๓) ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย การรักษาความสงบเรียบร้อย และ การบริหารจัดการรักษาความปลอดภัย
(๔) ความรู้เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ’, ของตำแหน่งที่สมัครสอบ
สอบปฏิบัติ
– ทดสอบสภาพร่างกาย
เกณฑ์การทดสอบสภาพร่างกาย
ประเภทการทดสอบ 
๑. วิ่งระยะไกล ๒ กิโลเมตร 
เกณฑ์การตัดสิน
ชาย : ไม่เกิน ๑๑ นาที
หญิง : ไม่เกิน ๑๓ นาที
๒. ลุกนั่ง (Sit – up) ระยะเวลา ๒ นาที 
เกณฑ์การตัดสิน
ชาย : ไม่ตํ่ากว่า ๔๒ ครั้ง
หญิง : ไม่ตํ่ากว่า ๔๐ ครั้ง
๓. ดันพื้น ระยะเวลา ๒ นาที 
เกณฑ์การตัดสิน
ชาย : ไม่ตํ่ากว่า ๓๒ ครั้ง
หญิง : ไม่ตํ่ากว่า ๑๔ ครั้ง
๔. ว่ายนํ้า ระยะทาง ๒๕ เมตร 
เกณฑ์การตัดสิน
ชาย : ไม่เกิน ๒ นาที
หญิง : ไม่เกิน ๓ นาที
ทั้งนี้ ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง ในตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติงานจะต้องผ่านเกณฑ์การตัดสินของการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ตามเกณฑ์ทดสอบสภาพร่างกายที่กำหนด จึงจะเป็นผู้มีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป


เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐส ภาคปฏิบัติงาน

หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งชันภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนน เต็ม ๒๐๐ คะแนน)
สอบความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภา โดยวิธีการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ดังนี้
สอบข้อเขียน
๑) ความรู้ความสามารถ กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) กฎหมาย และกฎระเบียบราชการอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) ความรู้ในการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ และที่แกไชเพิ่มเดิม
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยชองรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๙
(๓) ความรู้เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย การรักษาความสงบเรียบร้อย และ การบริหารจัดการรักษาความปลอดภัย
(๔) ความรู้เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ
สอบปฏิบัติ
– ทดสอบสภาพร่างกาย
เกณฑ์การทดสอบสภาพร่างกาย
ประเภทการทดสอบ
๑. วิ่งระยะไกล ๒ กิโลเมตร
เกณฑ์การตัดสิน
ชาย : ไม่เกิน ๑๑ นาที
หญิง : ไม่เกิน ๑๓ นาที
๒. ลุกนั่ง (Sit – up) ระยะเวลา ๒ นาที
เกณฑ์การตัดสิน
ชาย : ไม่ตํ่ากว่า ๔๒ ครั้ง
หญิง : ไม่ตํ่ากว่า ๔๐ ครั้ง
๓. ดันพื้น ระยะเวลา ๒ นาที
เกณฑ์การตัดสิน
ชาย : ไม่ตํ่ากว่า ๓๒ ครั้ง
หญิง : ไม่ตํ่ากว่า ๑๔ ครั้ง
๔. ว่ายนํ้า ระยะทาง ๒๕ เมตร
เกณฑ์การตัดสิน
ชาย : ไม่เกิน ๒ นาที
หญิง : ไม่เกิน ๓ นาที
ทั้งนี้ ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง ในตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ตำรวจรัฐสภาปฏิบัติงานจะต้องผ่านเกณฑ์การตัดสินของการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ตามเกณฑ์ทดสอบสภาพร่างกายที่กำหนด จึงจะเป็นผู้มีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป


เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน

หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนน เต็ม ๒๐๐ คะแนน)
สอบความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ในตำแหน่งเจ้าพนักงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยวิธีการสอบข้อเชียนและสอบปฏิบัติ ดังนี้
สอบข้อเขียน
๑) ความรู้ความสามารถ กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) กฎหมาย และกฎระเบียบราชการอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) ความรู้ในการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ และติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
(๒) ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบ แก้ไขปัญหาเครื่องจักรประมวลผลและชุดคำสั่งประมวลผลได้
(๓) ความรู้เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ
สอบปฏิบัติ
ทดสอบการติดตั้ง ตรวจสอบ และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการและโปรแกรม ประยุกต์ต่าง ๆ รวมทั้งเครื่องจักรประมวลผลและชุดคำสั่งประมวลผล


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขันภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนน เต็ม ๒00 คะแนน)
สอบความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ในตำแหน่งเจ้าพนักงานการเงิน และบัญชี โดยวิธีการสอบข้อเขียน ดังนี้
สอบข้อเชียน
๑) ความรู้ความสามารถ กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวช้อง
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ยรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๔๔ และพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) กฎหมาย และกฎระเบียบราชการอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) ความรู้ในการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
(๒) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
(๓) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบรัฐสภาว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และ การนำส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แกัIขเพิ่มเดิม
(๔) ระเบียบเกี่ยวกับระเบียบรัฐสภาว่ด้วยการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และที่แก้ไข เพิ่มเดิม
(๕) ความรู้เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งชันภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนน เต็ม ๒๐๐ คะแนน)
สอบความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ในตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ โดยวิธีการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ ดังนี้
สอบช้อเขียน
๑) ความรู้ความสามารถ กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒)๕๕๔ และพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) กฎหมาย และกฎระเบียบราชการอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) ความรู้ในการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับงานธุรการและงานสารบรรณ
(๒) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
(๓) ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการจัดชื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
(๔) ระเบียบเกี่ยวกับพัสดุที่เกี่ยวข้อง
(๕) ความรู้เกี่ยวกับระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
(๖) ความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
(๗) ความรู้เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ
สอบปฏิบัติ (ตามเกณฑ์ที่ ก.ร. กำหนด)
๑) การใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใช้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์
๒) พิมพ์ดีดภาษาไทย ไม่น้อยกว่านาทีละ ๒๕ คำ
๓) พิมพ์ดีดภาษาอังกฤษ ไม่น้อยกว่านาทีละ ๒๕ คำ
ทั้งนี้ ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง ในตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการจะต้องผ่านเกณฑ์การตัดสินของการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด จึงจะเป็นผู้มีสิทธิเข้าสอบภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งตอไป


นายช่างปฏิบัติงาน

หลักสูตรและวิธีการสอบแช่งชันภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนน เต็ม ๒๐๐ คะแนน)
สอบความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ในตำแหน่งนายช่าง โดยวิธีการสอบ ข้อเขียนและสอบปฏิบัติ คังนี้
สอบช้อเขียน
๑) ความรู้ความสามารถ กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวช้อง
(๑) พระราขบัญญัติระเบียบบริหารราขการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และพระราขบัญญัติ ระเบียบข้าราขการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) กฎหมาย และกฎระเบียบราชการอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
๒) ความรู้ในการปฏิบัติงาน
(๑) ความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้าแสงสว่าง หม้อแปลงและมอเตอร์ ระบบ เครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบอิเล็กทรอนิกส์ และระบบคอมพิวเตอร์
(๒) ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
(๓) ความรู้เกี่ยวกับการเขียนแบบและประมาณราคาระบบไฟฟ้า
(๔) ความรู้เกี่ยวกับวิธีซ่อมบำรุงรักษาและป้องกันไฟฟ้า
(๕) ความรู้เกี่ยวกับงานตาม “ลักษณะงานที่ปฏิบัติ” ของตำแหน่งที่สมัครสอบ
สอบปฏิบัติ
๑) เขียนแบบไฟฟ้าและระบบอิเล็กทรอนิกส์ และการประมาณราคา ด้วยคอมพิวเตอร์
๒) ซ่อมบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า การป้องกันระบบไฟฟ้า ระบบแสงสว่าง และอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ


เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมปฏิบัติงาน

หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งชันภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน)
สอบความรู้ความสามารถที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ในตำแหน่งเจ้าพนักงานจัดทำ รายงานการประชุม โดยวิธีการสอบช้อเชียนและสอบปฏิบัติ ดังนี้
สอบข้อเขียน
ความรู้ความสามารถ กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝ่ายรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔ และพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการรัฐสภา พ.ศ. ๒๕๕๔
(๒) กฎหมาย และกฎระเบียบราชการอื่นที่ใช้ในการปฏิบัติงานในหน้าที่
สอบปฏิบัติ
ความรู้ในการปฏิบัติงาน (ตามเกณฑ์ที่ ก.ร. กำหนด)
๑) จดรายงานการประชุมและถอดถ้อยคำเป็นตัวพิมพ์
๒) การใช้โปรแกรมประมวลผล โปรแกรมฐานข้อมูล หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
๓) พิมพ์ดีดภาษาไทย ไม่น้อยกว่านาทีละ ๓๕ คำ
๔) พิมพ์ดีดภาษาอังกฤษ ไม่น้อยกว่านาทีละ ๒๕ คำ
ทั้งนี้ ผู้ที่จะถีอว่าเป็นผู้สอบผ่านภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งในตำแหน่ง เจ้าพนักงานจัดทำรายงานการประชุมจะต้องผ่านเกณฑ์การตัดสินของการสอบช้อเขียนและสอบปฏิบัติ ตามเกณฑ์ที่กำหนด จึงจะเป็นผู้มีสิทธิเช้าสอบภาคความเหมาะสมกับตำแหน่งต่อไป

วิธีการสมัครงานข้าราชการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 10 ม.ค. – 31 ม.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา

แผนที่ file 1 | เว็บรับสมัคร

Facebook Comments