“กรมราชทัณฑ์ “
ลิงค์: https://ehenx.com/16914/ หรือ
ตำแหน่ง: นักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.ทุกสาขา,ปวส.,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: –
อัตราว่าง: 725
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 23 พ.ค. – 24 มิ.ย. 2565
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กรมราชทัณฑ์ เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ปฏิบัติงาน (งานควบคุมผู้ต้องขังชายและอื่นๆ)
ด้วยกรมราชทัณฑ์ จะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ปฏิบัติงาน (งานควบคุมผู้ต้องซังขายและอื่นๆ) ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๕/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรื่อง การสรรหาโดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ และ ที่ นร ๑๐๐๔.๒/๑๕๒ ลงวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๕ เรื่อง การขอดำเนินการคัดเลือกเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง โดยไม่ต้องสอบแข่งขันและข้อหารือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการสอบแข่งขัน จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 585 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 10840-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.ทุกสาขา*
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง นักทัณฑวิทยาปฏิบ้ตการ (งานควบคุมผู้ต้องขังชายและอื่นๆ)
ด้วยกรมราชทัณฑ์ จะตำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง นักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ (งานควบคุมผู้ต้องชังชายและอื่นๆ) ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๖๕๕๖ เรื่อง การสรรหาโดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศ รับสมัครสอบแข่งขันฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
นักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 140 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
นักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ
(๑) เป็นผู้ได้รับปริญญาต่รีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไดในระดับเดียวกันในทุกสาขาวิชา และ
(๒) เป็นชายที่มีร่างกายแข็งแรง สูงไม่น้อยกว่า ๑๖๕ เซนติเมตร และรอบอก ไม่น้อยกว่า ๘๐ เซนติเมตร แต่ล้าขนาดของสัดส่วนใดสัดส่วนหนึ่งน้อยกว่าที่กำหนดไว้ไม่เกิน ๒ เซนติเมตร ก็ให้ใชัได้โดยอนุโลม เมื่อจำนวนรวมไม่น้อยกว่า ๒๔๕ เซนติเมตร
๔.๓ ผู้สมัครสอบแข่งขันฯ ต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ของสำนักงาน ก.พ. ภายในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๕
หากภายหลังปรากฏว่า ผู้สมัครเข้ารับการสอบแข่งขันฯ รายใดมีคุณสมบัติไม่ตรงตาม หลักเกณฑ์ที่กำหนด จะถือว่าผู้สมัครรายนั้นขาดคุณสมบัติ และเป็นผู้ที่ไม่มีสิทธิเข้ารับการสอบแข่งขันฯ การใดที่ได้ดำเนินการไปแล้ว สำหรับบุคคลผู้ขาดคุณสมบัติให้ถือเป็นโมฆะและบุคคลผู้นั้นไม่อาจเรียกร้อง สิทธิใดๆ ทั้งสิน
เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ปฏิบัติงาน
(๑) เป็นผู้ได้รับประกาศนืยบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) หรืออบุปริญญาหลักสูตร ๒ ปี ต่อจากประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือ อนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ต่อจากประกาศนืยบัตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย ในทุกสาขาวิชา และ
(๒) เป็นชายที่มีร่างกายแข็งแรง สูงไม่น้อยกว่า ๑๖๔ เซนติเมตร และรอบอก ไม่น้อยกว่า ๘๐ เซนติเมตร แต่ถ้าขนาดของสัดส่วนใดสัดส่วนหนึ่งน้อยกว่าที่กำหนดไว้ไม่เกิน ๒ เซนติเมตร ก็ให้ใซ้ได้[ดยอนุโลม เมื่อจำนวนรวมไม่น้อยกว่า ๒๔๔ เซนติเมตร
๔.๓ ผู้สมัครสอบต้องเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ระดับ ปวท. ระดับอนุปริญญา หรือระดับ ปวส. ขึ้นไป ของสำนักงาน ก.พ. ภายในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔
หมายเหตุ สำหรับผู้สมัครสอบที่ยังไม่ได้เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ในระดับวุฒิการศึกษาที่ใข้สมัครสอบหรือในระดับที่สูงกว่านั้น จะต้องสมัครและเข้าสอบภาคความรู้ ความสามารถทั่วไปในครั้งนี้
หากภายหลังปรากฏว่า ผู้สมัครเข้ารับการสอบแข่งขันฯ รายใดมีคุณสมบัติไม่ตรงดาม หลักเกณฑ์ที่กำหนด จะถือว่าผู้สมัครรายนั้นขาดคุณสมบัติ และเป็นผู้ที่ไม่มีสิทธิเข้ารับการสอบแข่งขันฯ การใดที่ได้ตำเนินการไปแล้ว สำหรับนุคคลผู้ขาดคุณสมบัติให้ถือเป็นโมฆะและบุคคลผู้นั้นไม่อาจเรียกร้อง สิทธิใดๆ ทั้งสิ้น
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
นักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิน้ตงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านราชทัณฑ์ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามทีได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๒.๑ ต้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาระบบ มาตรการ หลักเกณฑ์ เกี่ยวกับด้านทัณฑวิทยา และทัณฑปฏิบัติ และดำเนินการให้เป็นไปตามหลักวิชา กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ตลอดจนนโยบายของ ทางราชการ
(๒) ศึกษา วิเคราะห์ ตรวจสอบ และดำเนินงานทัณฑวิทยาและทัณฑปฏิบัติในเรือนจำ และสถานที่ควบคุมต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์ และมาตรการที่กำหนด
(๓) ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำมาตรฐานหลักสูตร กิจกรรม และคุณสมบัติผู้ต้องขัง ตลอดจนจัดการศึกษา อบรม พัฒนาพฤตินิสัย พัฒนาจิตใจ และฟิกวิชาชีพผู้ต้องขัง เพื่อการบำบัดพื่นฟูหรือแก้ไข และพัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง
(๔) ดำเนินการรวบรวม วิเคราะห์ และประมวลผลข้อมูลเกี่ยวกับสถิติผู้ต้องขัง เพื่อประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย และสนับสมูนการบริหารงานของหน่วยงาน
(๕) ดำเนินการสืบสวน สอบสวน เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงกรณีผู้ต้องขังกระทำผิดวินัย และเสนอแนะการลงโทษทางวินัยดังกล่าว
(๖) ดำเนินการจัดทำเอกสาร บทความ กิจกรรมต่างๆ ในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับงานราชทัณฑ์ เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิป้ตงาน และการเรียนรู้ร่วมกันของข้าราชการและผู้สนใจ
(๗) ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมเอกสารเกี่ยวกับกิจการราชทัณฑ์ นวัตกรรมใหม่ๆ ติดตามความก้าวหน้าของทัณฑวิธีภายในประเทศและต่างประเทศ และเสนอแนะให้นำวิธีการที่เหมาะสม เพื่อนำมาปรับใช้ในงานราชทัณฑ์ของประเทศไทย
(๘) ดำเนินการควบคุม ดูแลความเป็นอยู่และจัดสวัสดิการให้กับผู้ต้องขัง เพื่อให้ผู้ต้องขัง สามารถดำรงชีพได้อย่างปกติและเหมาะสมตามมาตรฐานที่กำหนด
(๙) ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานของเรือนจำ หรือสถานที่ควบคุมต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์และมาตรการที่กำหนด
(๑๐) ปฏิบัติหน้าที่เข้าเวรรักษาการณ์นอกเวลาราชการ ตามระบบโครงสร้างเวรรักษาการณ์ ของเรือนจำ หรือสถานที่ควบคุมต่างๆ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อย
๒.๒ ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๒.๓ ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๖) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวซ้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๒.๔ ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดความรู้แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา ในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อช่วยให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๒)ให้คำปรึกษา แนะนำ การใช้ชีวิตในเรือนจำแก่ผู้ต้องขังเข้าใหม่ และตักเตือน เมื่อผู้ต้องขังจะกระทำผิดกฎ ระเบียบ หรือกระทำผิดวินัย เพื่อสร้างความสงบเรียบร้อยภายในเรือนจำ
(๓)ปรับปรุงและพัฒนางานบริการประชาชนที่เกี่ยวกับภารกิจของหน่วยงาน เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๔) ให้คำปรึกษา แนะนำ ชี้แจงและตอบปัญหาเกี่ยวกับงานในหน้าที่ความรับผิดชอบ เพื่อสร้างความเช้าใจในระบบงานราชทัณฑ์
๓. ลักษณะพิเศษของงานที่ปฏิบัติ
เป็นเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติงานในส่วนกลางกรมราขทัณฑ์ เรือนจำ/ทัณฑสถาน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีลักษณะงานในสภาพที่อาจเป็นอันตรายในสถานที่ที่ไม่น่าอภิรมย์และตรากตรำ โดยจะมีรอบความถี่ในการเข้าเวัรรักษาการณ์นอกเหนือจากงานประจำ
เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ปฏิบัติงาน
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิป้ติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการคึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานราชทัณฑ์ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นดามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๒.® ด้านการปฏินัติการ
(๑) ควบคุม ดูแลผู้ต้องชัง ให้อยู่ในระเบียบวินัย และปฏิบัติภารกิจประจำวัน ตามกฎระเบียบ ของเรือนจำหรือสถานที่ควบคุมต่างๆ ตลอดจนควบคุมผู้ต้องชังไปภายนอกเรือนจำ หรือสถานที่ดังกล่าว เพื่อไมให้มีการหลบหนีจากการควบคุม
(๒) ดำเนินการตามมาตรการควบคุมผู้ต้องขัง และรักษาการณ์เรือนจำ หรือสถานที่ ควบคุมต่างๆ เช่น ตรวจนับยอดจำนวนผู้ต้องขัง ตรวจตรา .รักษาการณ์รอบอาณาเขตทั้งภายในและภายนอกกำแพง ป้อมบนกำแพง ประตูเข้าออก ตรวจค้นบุคคล ■ผู้ต้องชัง ยานพาหนะ และพัสดุสิ่งของที่ผ่านเข้าออก การหาข่าว ตลอดจนดำเนินการรักษาความปลอดภัยให้แก่ผู้บังลับบัญชา หรือบุคคลภายนอกที่เข้าเยี่ยมชม หรือติดต่อราชการ การลู่โจมตรวจค้นทั้งในกรณีปกติและในกรณีพิเศษเพื่อให้เกิดความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อย
(๓) ดำเนินการกรณีผู้ต้องขัง แหกหักหลบหนี หรือก่อเหตุร้ายในเรือนจำ หรือสถานที่ ควบคุมต่างๆ เพื่อให้เกิดความสงบเรียบร้อยและเป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์ และมาตรการที่กำหนด
(๔) ดำเนินการลืบสวน สอบสวน เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงกรณีผู้ต้องขังกระทำผิดวินัย และเสนอแนะการลงโทษทางวินัยดังกล่าว
(๕) ดำเนินการด้านทัณฑปฏิบัติในเรือนจำ หรือสถานที่ควบคุมต่างๆ เพื่อให้เป็นไป ตามกฎหมาย หลักเกณฑ์ และมาตรการที่กำหนด
(๖) รับและพิจารณาคำร้องทุกข์ของผู้ต้องขัง เพื่อเสนอต่อผู้บังลับบัญชา หรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องให้มีการแค้!ข หรือช่วยเหลือผู้ต้องขังต่อไป
(๗) สอน ให้คำปรึกษา แนะนำ และจัดการศึกษา จัดทำลือการเรียนการสอน อบรม พัฒนาจิตใจ และฟิกวิขาชีพ เพื่อการบำบัดพื่นฟู หรือแค้!ชและพัฒนาพฤตินิสัยชองผู้ต้องขัง
(๘) ดำเนินการด้านการจัดสวัสดิการผู้ต้องขัง เช่น สูทกรรม การจัดเลี้ยงผู้ต้องชัง งานสงเคราะห์ผู้ต้องขัง เงินฝากผู้ต้องขัง ญาติเยี่ยม ลันทนาการ และงานสวัสดิการอื่นที่เรือนจำจัดให้ผู้ต้องขัง เพื่อให้ผู้ต้องขังสามารถดำรงชีพได้อย่างปกติและเหมาะสมตามมาตรฐานที่กำหนด
(๙) ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานของเรือนจำ หรือสถานที่ควบคุมต่างๆ เพื่อให้ เป็นไปตามกฎหมาย หลักเกณฑ์ และมาตรการที่กำหนด
(๑๐) ปฏิบัติหน้าที่เข้าเวรรักษาการณ์นอกเวลาราชการ ตามระบบโครงสร้างเวรรักษาการณ์ ของเรือนจำ หรือสถานที่ควบคุมต่างๆ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อย
๒.๒ ด้านการบริการ
(๑)ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดความร้แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา ในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อข่วยฺให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ(๒) ให้บริการญาติในการเข้าเยี่ยมผู้ต้องขัง และการติดต่อประสานงานจากหน่วยงาน หรือบุคคลภายนอกและประขาชนทั่วไป เพื่อให้การดำเนินงานราชทัณฑ์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ให้บริการ เผยแพร่ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการฟิกวิชาชีพหรือการใช้แรงงานผู้ต้องขัง เพื่อให้ผู้สนใจได้นำไปใช้ประโยชน์ในกิจการต่างๆ
๓. ลักษณะพิเศษของงานที่ปฏิบัติ
เป็นเจ้าหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติงานในส่วนกลางกรมราชทัณฑ์ เรือนจำ/ทัณฑสถาน ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค มีลักษณะงานในสภาพที่อาจเป็นอันตรายในสถานที่ที่ไม่น่าอภิรมย์และตรากตรำ โดยจะมีรอบความถี่ในการเข้าเวรรักษาการณ์นอกเหนือจากงานประจำ
เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ
วิชาที่สอบ
นักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ
๙.๑ การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทึ่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ทดสอบความรู้ความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในตำแหน่งนักทัณฑวิทยาปฏิบัติการ โดยวิธีการสอบข้อเขียนตามขอบเขตวิชาที่ใชในการสอบ ดังนี้
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ เฉพาะหมวด ๖ หมวด ๗
หมวด ๘ หมวด ๙ และหมวด ๑๐
(๒) พระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ และกฎกระทรวงที่ออกตามความ ในพระราชบัญญัตินี้
(๓) พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ.ศ. ๒๔๘๒ และจรรยาบรรณ ข้าราชการราชทัณฑ์
(๔) ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
(๕) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา และกระบวนการยุติธรรม
(๖) เหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวของกับงานราชทัณฑ์ และนโยบายชองกรมราชทัณฑ์
๙.๒ การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมก็บตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ) ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่โดยวิธีการทดสอบสมรรถภาพ ของร่างกาย และวิธีการสัมภาษณ์ ด้งนี้
(๑) การทดสอบสมรรถภาพของร่างกาย (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
จะทดสอบสมรรถภาพของร่างกายด้านความแข็งแรงของร่างกาย ความคล่องตัว ความเร็ว ความอดทน โดยให้ผู้สมัครสอบวิ่งเป็นระยะทาง ๑,๐๐๐ เมตร ภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยคะแนนที่ใด้ จะให้ลดหลั่นกันลงมาตามลำดับ ทั้งนี้ คะแนนที่ได้รับขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่ผู้สมัครสอบวิ่งทำเวลาได้ ดังนี้
ผู้เข้าสอบวิ่งทำเวลาได้ไม่เกิน ๔ นาที ๒๐ วินาที ได้คะแนน ๕๐ คะแนน
ผู้เข้าสอบวิ่งทำเวลาได้ไม่เกิน ๕ นาที ได้คะแนน ๔๕ คะแนน
ผู้เข้าสอบวิ่งทำเวลาได้1ม่เกิน ๕ นาที ๔๐ วินาที ได้คะแนน ๔๐ คะแนน
ผู้เข้าสอบวิ่งทำเวลาได้1ม่เกิน ๖ นาที ๒๐ วินาที ได้คะแนน ๓๕ คะแนน
ผู้เข้าสอบวิ่งทำเวลาได้1ม่เกิน ๗ นาที ได้คะแนน ๑๕ คะแนน
ผู้เข้าสอบวิ่งทำเวลาได้เกิน ๗ นาที ได้คะแนน ๐ คะแนน
หรือวิ่งไม่ถึง ๑,๐๐๐ เมตร ตามระยะทางที่กำหนด
หรือวิ่งออกนอกลู่วิ่งก่อนครบกำหนดระยะทาง
(๒) การสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
เป็นการประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบ และจากการสัมภาษณ์ ทั้งนี้ อาจใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิม เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่างๆ เข่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ ของข้าราชการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน รวมทั้งสังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอื่น เป็นต้น และรวมถึงสมรรถนะหลัก สมรรถนะที่จำเป็น ของตำแหน่ง
กรมราชทัณฑ์ อาจนำข้อมูลประวัติการกระทำผิดจากฐานข้อมูล DEC (Data Exchange Center) หรือจากหลักฐานเอกสารอื่นที่เกี่ยวซ้อง มาใช้ประกอบการพิจารณาคุวามเหมาะสมกับตำแหน่ง ตามแนวทางในการพิจารณาผู้มีสิทธิเข้าสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่มีประวัติการกระทำผิด ซึ่งคณะกรรมการกลั่นกรองคุณสมบัติซึ่งมีลักษณะต้องห้ามของบุคคลในการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้ง บุคคลเข้ารับราชการในลังกัดกรมราชทัณฑ์กัาหนด
ทั้งนี้ ผู้มีสิทธิเข้าสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง จะต้องเป็นผู้สอบผ่าน ในการสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งได้คะแนนไม่ตํ๋ากว่าร้อยละ ๖๐
๑๐. เกณฑ์การตัดสิน
ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สอบแข่งขันได้ จะต้องเป็นผู้สอบได้คะแนนการวัดความรู้ความสามารถ ที่ใช้เฉพาะตำแหน่งไม่ตากว่าร้อยละ ๖๐ และเป็นผู้สอบได้คะแนนการวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งไม่ตํ่ากว่า ร้อยละ ๖๐ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงหลักวิชาการวัดผล
เจ้าพนักงานราชทัณฑ์ปฏิบัติงาน
๙.๑ การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) โดยวิธีการสอบข้อเขียน ดังต่อไปนี้
(๑) วิชาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) เป็นการทดสอบ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ครอบคลุมประเด็นด้งนี้
– การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา ได้แก่ การไข้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ความเข้าใจ ในการอ่านภาษาไทย การจับใจความสำคัญ การสรุปความ การดีความจากบทความ ข้อความหรือสถานการณ์ต่างๆ
– การคิดวิเคราะห์เชิงนามธรรม ได้แก่ การคิดหาความสัมพันธ์เชื่อมโยงคำ ข้อความ หรือรูปภาพ ตลอดจนการหาข้อสรุปอย่างสมเหตุสมผลจากข้อความ สัญลักษณ์ รูปภาพ สถานการณ์ หรือแบบจำลองต่างๆ และ
– การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ ได้แก่ ความเข้าใจ ความคิดรวบยอด และแก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์เบื้องต้น การเปรียบเทียบและวิเคราะห์เซิงปริมาณ ตลอดจนการประเมินความเพึยงพอของข้อมูล
(๒) วิชาภาษาอังกฤษ (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน) เป็นการทดสอบทักษะภาษาอังกฤษ เพื่อวัดความเข้าใจในหลักการสื่อสาร โดยใช้ศัพท์ สำนวน โครงสร้างประโยคที่เหมาะสม ทั้งในเชิงความหมาย และบริบทแสดงถึงความสามารถในการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การวัดความสามารถด้านการอ่าน โดยทดสอบ การทำความเช้าใจในสาระของข้อความหรือบทความ และการวัดความสามารถด้านการเขียนภาษาอังกฤษ ในระดับเบื้องต้น
(๓) วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน) เป็นการทดสอบความรู้ที่เป็นพื้นฐานของการเป็นข้าราชการที่ดี ความรู้ดังกล่าว ได้แก่ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หลักการบริหารกิจการบัานเมืองที่ดี วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง หน้าที่และความรับผิดในการปฏิบัติ หน้าที่ราชการ ตลอดจนเจตคติและจริยธรรมสำหรับข้าราชการ
เกณฑ์การสอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป
ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ต้องเป็นผู้สอบวิขา ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ได้คะแนนรวมไม่ตํ่ากว่าร้อยละ ๖๐ วิขาภาษาอังกฤษ ได้คะแนน ไม่ตํ่ากว่าร้อยละ ๕๐ และวิขาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ได้คะแนนไม่ตํ่ากว่าร้อยละ ๖๐ ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงหลักวิขาการวัดผล
หมายเหตุ ผู้สมัครสอบที่สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไป ในระดับ ประกาฟินียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ระดับอทุปริญญา ระดับประกาสนึยบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือในระดับที่สูงกว่าของสำนักงาน ก.พ. แล้ว สามารถใช้หนังสือรับรองผลการสอบผ่านๆ ดังกล่าวได้ โดยให้!ด้รับการยกเว้นไม่ต้องสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไปในครั้งนี้อีก
๙.๒ การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ทดสอบความรู้ความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในตำแหน่งเจ้าพนักงานราชทัณฑ์ ปฏิบัติงานโดยวิธีการสอบข้อเขียนตามขอบเขตวิชาที่ใช้ในการสอบ ดังนี้
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ เฉพาะหมวด ๖ หมวด ๗
หมวด ๘ หมวด ๙ และหมวด ๑๐
(๒) พระราชบัญญัติราขทัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ และกฎกระทรวงที่ออกตามความ ในพระราชบัญญัตินี้
(๓) พระราชบัญญัติวินัยข้าราชการกรมราชทัณฑ์ พ,ศ. ๒๔๘๒ และจรรยาบรรณ ข้าราชการราชทัณฑ์
(๔) ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
(๕) เหตุการณ์ปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับงานราชทัณฑ์ และนโยบายของกรมราชทัณฑ์
๙.๓ การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)
ประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่โดยวิธีการทดสอบสมรรถภาพ ของร่างกาย และวิธีการสัมภาษณ์ ด้งนี้
(๑) การทดสอบสมรรถภาพของร่างกาย (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
จะทดสอบสมรรถภาพของร่างกายด้านความแข็งแรงของร่างกาย ความคล่องตัว ความเร็ว ความอดทน โดยให้ผู้สมัครสอบวิ่งเป็นระยะทาง ๑,๐๐๐ เมตร ภายในระยะเวลาที่กำหนด โดยคะแนนที่ได้ จะให้ลดหลั่นกันลงมาตามลำดับ ทั้งนี้ คะแนนที่ได้รับขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่ผู้สมัครสอบวิ่งทำเวลาได้ ดังนี้
ผู้เข้าสอบวิ่งทำเวลาได้!ม่เกิน ๔ นาที ๒๐ วินาที ได้คะแนน ๕๐ คะแนน
ผู้เข้าสอบวิ่งทำเวลาได้ไม่เกิน ๕ นาที ได้คะแนน ๔๕ คะแนน
ผู้เข้าสอบวิ่งทำเวลาได้!ม่เกิน ๕ นาที ๔๐ วินาที ได้คะแนน ๔๐ คะแนน
ผู้เข้าสอบวิ่งทำเวลาได้!ม่เกิน ๖ นาที ๖๐ วินาที ได้คะแนน ๓๕ คะแนน
ผู้เช้าสอบวิ่งทำเวลาไต้!ม่เกิน ๗ นาที ได้คะแนน ๑๕ คะแนน
ผ้เข้าสอบวิ่งทำเวลาไต้เกิน ๗ นาที ได้คะแนน ๐ คะแนน
หรือวิ่งไม่ถึง ๑,๐๐๐ เมตร ตามระยะทางที่กำหนด หรือวิ่งออกนอกลู่วิ่งก่อนครบกำหนดระยะทาง
(๒) การสัมภาษณ์ (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน)
เป็นการประเมินบุคคลเพื่อพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน จากการสังเกตพฤติกรรมที่ปรากฏของผู้เข้าสอบ และจากการสัมภาษณ์ ทั้งฺนี้ อาจใช้วิธีการอื่นใดเพิ่มเดิม เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในด้านต่างๆ เช่น ความรู้ที่อาจใช้เป็นประโยชน์ ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ ความสามารถ ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ จรรยาบรรณ ของข้าราชการพลเรือน คุณธรรม จริยธรรม การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน รวมทั้งสังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณ ไหวพริบ และบุคลิกภาพอื่น เป็นต้น และรวมถึงสมรรถนะหลัก สมรรถนะที่จำเป็น ของตำแหน่ง
กรมราชทัณฑ์ อาจนำข้อมูลประวัตการกระทำผิดจากฐานข้อมูล DEC (Data Exchange Center) หรือจากหลักฐานเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง มาใช้ประกอบการพิจารณาความเหมาะสมกับตำแหน่ง ดามแนวทางในการพิจารณาผู้มีสิทธิเข้าสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่มีประวัติการกระทำผิด ซึ่งคณะกรรมการกลั่นกรองคุณสมบัติซื่งมีลักษณะต้องห้ามของบุคคลในการสอบแช่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้ง บุคคลเข้ารับราชการในสังกัดกรมราชทัณฑ์กำหนด
ทั้งนี้ ผู้มีสิทธิเข้าสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง จะต้องเป็นผู้สอบผ่าน ในการสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่งได้คะแนนไม่ตากว่าร้อยละ ๖๐
๑๐. เกณฑ์การตัดสิน
ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สอบแช่งขันได้ จะต้องเป็นผู้สอบได้คะแนนการวัดความรู้ความสามารถ ทึ่ไช้เฉพาะตำแหน่งไม่ตำกว่าร้อยละ ๖๐ และเป็นผู้สอบได้คะแนนการวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งไม่ตากว่า ร้อยละ ๖๐ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงหลักวิชาการวัดผล
วิธีการสมัครงานข้าราชการ กรมราชทัณฑ์ :สมัครทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 23 พ.ค. – 24 มิ.ย. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กรมราชทัณฑ์
แผนที่ file 1 | เว็บรับสมัคร