“กรมการพัฒนาชุมชน“
ลิงค์: https://ehenx.com/11903/ หรือ
ตำแหน่ง: นักส่งเสริมการพัฒนาชุมชน,นักทรัพยากรบุคคล,นักวิชาการคอมพิวเตอร์,นักวิชาการพัฒนาชุมชน
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 18,000-19,500
อัตราว่าง: 27
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร,ขอนแก่น,จันทบุรี,เชียงใหม่,ตรัง,นครปฐม,นครราชสีมา,ประจวบคีรีขันธ์,พะเยา,พังงา,พิษณุโลก,เพชรบุรี,แม่ฮ่องสอน,ยะลา,สงขลา,สมุทรสาคร,สมุทรสงคราม
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 25 พ.ย. – 8 ธ.ค. 2563
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
กรมการพัฒนาชุมชน เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครบุคคลเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป
ด้วยกรมการพัฒนาชุมชน จะดำเนินการสรรหาและเลือกสรรบุคคลเพื่อจัดจ้างเป็นพนักงาน ราชการทั่วไป จำนวน ๔ ตำแหน่ง รวม ๒๗ อัตรา ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในประกาศคณะกรรมการบริหาร พนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการสรรหาและการเลือกสรรพนักงานราชการ และแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๒ และประกาศ คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง การกำหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุ่มงาน และการจัดทำกรอบอัตรากำลังพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ จึงประกาศ รับสมัครบุคคลเพื่อสรรหาและเลือกสรรเป็นพนักงานราชการทั่วไป โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
นักส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
ประเภท : บริหารทั่วไป
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
นักทรัพยากรบุคคล
ประเภท : บริหารทั่วไป
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
นักวิชาการคอมพิวเตอร์
ประเภท : วิชาชีพเฉพาะ
อัตราว่าง : 3 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 19500- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นักวิชาการพัฒนาชุมชน
ประเภท : บริหารทั่วไป
อัตราว่าง : 21 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 18000- บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
นักส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
ได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่น ที่เทียบเท่าในระดับเดียวกัน ทุกสาขาวิชาโดยเป็นหลักสูตรและคุณวุฒิที่ ก.พ. รับรอง
นักทรัพยากรบุคคล
ได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่น ที่เทียบเท่าในระดับเดียวกัน ทุกสาขาวิชา โดยเป็นหลักสูตรและคุณวุฒิที่ ก.พ. รับรอง
นักวิชาการคอมพิวเตอร์
ได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่น ที่เทียบเท่าในระดับเดียวกันในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทางคอมพิวเตอร์ โดยเป็นหลักสูตรและคุณวุฒิที่ ก.พ. รับรอง
นักวิชาการพัฒนาชุมชน
ได้รับวุฒิปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่น ที่เทียบเท่าในระดับเดียวกัน ทุกสาขาวิชา โดยเป็นหลักสูตรและคุณวุฒิที่ ก.พ. รับรอง
ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
นักส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ภายใต้ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ โดยปฏิบัติภารกิจในแผนงาน/โครงการสำคัญตามยุทธศาสตร์ประเทศในส่วนที่ กรมการพัฒนาชุมชนรับผิดชอบเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน/สินค้าชุมชนตามโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) สู่สากล การสืบสานสุดยอดภูมิปัญญาไทยสู่ภูมิปัญญาโลก (OTOP Thailand Brand) การพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชนด้วยการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP (QC) การพัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว และปฏิบัติงานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง ดังนี้
1. ด้านการปฏิบัติการ
- ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยด้านพัฒนาชุมชน เพื่อจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมในการดำเนินการ หรือสนับสนุนการดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน/สินด้าชุมชนตามโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) สู่สากล การสืบสานสุดยอดภูมิปัญญาไทยสู่ภูมิปัญญาโลก (OTOP Thailand Brand) การพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชนด้วยการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP (QC) ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพ กลุ่มผู้ผลิตชุมชนในการบริหารจัดการในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และการพัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว
- ดำเนินการและร่วมดำเนินการกับผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กรชุมชน เครือช่ายองค์กรชุมชน ชุมชน และภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนในรูปแบบต่าง ๆ ในการดำเนินการเพื่อส่งเสริมและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชุมชน/สินค้าชุมชนตามโครงการหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) สู่สากล การสืบสานสุดยอด ภูมิปัญญาไทยสู่ภูมิปัญญาโลก (OTOP Thailand Brand) การพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชนด้วยการควบคุม คุณภาพผลิตภัณฑ์ OTOP (00 ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชนในการบริหารจัดการในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และในการพัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว
- ศึกษา วิเคราะห์ ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ OTOP ในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
- ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำ และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาชุมชน และหรือการ จัดการความรู้ที่เกี่ยวข้องกับ OTOP ในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อการกำหนดนโยบาย แผนงาน ตลอดจนกำหนด แนวทางหรือวางแผนการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ
- เสนอแนะ ให้ข้อคิดเห็นหรือแนวทางการพัฒนาและส่งเสริม OTOP สู่การพัฒนาศักยภาพชุมชน และเศรษฐกิจชุมชน เพื่อสร้างเสริมความสมดุลในการพัฒนาชุมชนและความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชนระดับฐานราก อันนำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน
2. ด้านการวางแผน
วางแผนหรือร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานตามแผนงานหรือโครงการด้านการส่งเสริมและพัฒนา OTOP และแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
3. ด้านการประสานงาน
- ประสานการทำงานร่วมกันกับผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชุมชน ชุมชน และ ภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนในงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนา OTOP เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
- ให้ข้อคิดเห็นหรือคำแนะนำเบื้องต้นแก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจและ ความร่วมมือในการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนา OTOP ตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
- ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กรชุมซน เครือข่ายองค์กรชุมชนและชุมชน ตลอดจนภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วน เพื่อการส่งเสริมและพัฒนา OTOP ในด้านต่าง ๆ
- ออกแบบและดำเนินการหรือร่วมดำเนินการในการจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสาร เกี่ยวกับการดำเนินงาน OTOP ในด้านต่าง ๆ เพื่อให้บริการแก่หน่วยงานภาคีการพัฒนา ประชาชน ผู้นำชุมชน กลุ่ม องค์กรชุมชน เครือข่ายองค์กรชุมชน และชุมชน
- ปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
นักทรัพยากรบุคคล
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านการบริหารหรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติครอบคลุมทั้งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ดังนี้ (ในการปฏิบัติงานจริงขึ้นอยู่กับภารกิจงานของต้นสังกัดในการมอบหมายงานให้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือ หลายอย่างก็ได้)
1. ด้านการปฏิบัติการ
- ปฏิบัติงานสนับสบุนภารกิจในงานสรรหา งานบรรจุแต่งตั้ง และงานพัฒนาระบบการบริหารผลการ ปฏิบัติงาน (Performance Management) ที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาทักษะ/ความรู้/สมรรถนะบุคลากร ตามทิศทาง/แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ และตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน
- ปฏิบัติงานสนับสนุนภารกิจในงานบริหารจัดการฐานข้อมูลสารสนเทศทรัพยากรบุคคลที่เชื่อมโยงกับ ระบบ DPIS งานพัฒนาระบบทะเบียนประวัติและบำเหน็จความชอบ การสืบค้นและให้บริการข้อมูลด้านบุคคล
- ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประกอบการวางระบบ การจัดทำ มาตรฐานหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน
- ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อประกอบการจัดทำโครงการ/กิจกรรมการดำเนินงานเกี่ยวกับการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
- ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการกำหนดความต้องการและความจำเป็นใน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล การวางแผนทางกัาวหน้าในอาชีพ การจัดหลักสูตรและการถ่ายทอดความรู้ การจัดสรร ทุนการศึกษาและการดูแลนักเรียนทุนและบุคลากรภาครัฐในต่างประเทศ รวมถึงการวางแผนและเสนอแนะ นโยบายหรือยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการ และแผนการจัดสรรทุนการศึกษาและการ ผิกอบรม
- ศึกษา รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์งาน เพื่อประกอบการกำหนดตำแหน่งและการวางแผน อัตรากำลังของส่วนราชการ รวมทั้งการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ และ มาตรการ/แนวทางต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการวางหลักเกณฑ์การบริหารผลการปฏิบัติงาน และการบริหารค่าตอบแทน
- ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบข้อมูล ถ้อยคำ ข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการดำเนินการ ทางวินัย การรักษาวินัยและจรรยา
- ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อการพัฒนาเกี่ยวกับการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและการดำเนินการ ตามหลักธรรมาภิบาล
- ศึกษา วิเคราะห์ และดำเนินการเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาและเสือกสรร เพื่อคัดเสือกหรือ บรรจุแต่งตั้งผู้มีความรู้ความสามารถให้ดำรงตำแหน่งหรือเข้ารับการพัฒนาอบรมตามหลักสูตรต่างๆ
2. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดขอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
3. ด้านการประสานงาน
- ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้ เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
- ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้าง ความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
- ให้คำแนะนำ ชี้แจง ตอบปัญหาเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน ข้าราชการ พนักงานหรือ เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือประชาขนทั่วไป เกี่ยวกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสร้างความเข้าใจ และสนับสนุนงานตามภารกิจของหน่วยงาน
- ให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสนับสนุนภารกิจของ บุคคลหรือหน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์และมาตรการต่าง ๆ
- ให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับการส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
- ปฏิบัติงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
นักวิชาการคอมพิวเตอร์
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติครอบคลุมในด้านต่าง ๆ ดังนี้ (ในการปฏิบัติงานจริงขึ้นอยู่กับภารกิจงานของต้นสังกัด ในการมอบหมายงานให้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างก็ได้)
1. ด้านการปฏิบัติการ
- ปฏิบัติงานสนับสนุนภารกิจและยุทธศาสตร์กรมฯ ในการจัดวาง /พัฒนาและแก้ไขปัญหาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน และระบบสารสนเทศชุมชน ด้านเทคนิคคอมพิวเตอร์ และการออกแบบและ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Software) ต่าง ๆ การพัฒนาและดูแลรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และปฏิบัติงานด้าน เทคนิคคอมพิวเตอร์เกี่ยวกับการพัฒนาและแก้ไขปัญหาโปรแกรม (Software) ตามที่หน่วยงานในสังกัดกรมฯ ร้องขอ เพื่อใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
- ปฏิบัติงานสนับสนุนภารกิจในการจัดวางและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดการทรัพยากรบุคคล การควบคุมดูแลรักษา /แก้ไขปัญหาทางเทคนิค ตลอดจนการให้บริการด้านระบบสารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์ทุกประเภทของหน่วยงานต้นสังกัด รวมทั้งการพัฒนาโปรแกรม (Software) สนับสนุนงานเฉพาะด้าน ของกลุ่มงาน/ฝ่ายของหน่วยงานต้นสังกัด
- ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูป ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวช้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน
- ประมวลผลและปรับปรุงแก้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้องแม่นยำและทันสมัย
- ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง ตรงตามความ ต้องการและสภาพการใช้งานของหน่วยงาน
- เขียนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เขียนชุดคำสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แก้ไขข้อผิดพลาดของคำสั่ง เพื่อให้ ระบบปฏิบัติการทำงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำและมีประสิทธิภาพ
- ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลของ หน่วยงานที่ไม่ซับช้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และตรงตาม ความต้องการของหน่วยงาน
- ช่วยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้ได้ระบบงาน ประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะและความต้องการของหน่วยงาน
- รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย ระบบงานประยุกต์และระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่อง การติดตั้งระบบเครื่อง เพื่อให้ได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน
- ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูลการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่ายไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล หรือระบบ
- ช่วยตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบการออกใบอนุญาต เพื่อให้การออกใบอนุญาต เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
2. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้ การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ
3. ด้านการประสานงาน
- ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธิ๋ตามที่กำหนด
- ขี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวช้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
- ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเองอย่างมี ประสิทธิภาพ
- ดำเนินการฟิกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้ สนับสบุนการใช้ระบบงานที่พัฒนาแก่เจ้าหน้าที่ ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเช้าใจในด้านวิขาการคอมพิวเตอร์
- ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ใช้เมื่อมีป้ญหาหรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแก่ไขและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ปฏิบัติงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวช้องตามที่ได้รับมอบหมาย
นักวิชาการพัฒนาชุมชน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการพัฒนาชุมชน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้ (ในการปฏิบัติงานจริงขึ้นอยู่กับภารกิจงานของ ต้นสังกัดในการมอบหมายงานให้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างก็ได้)
1. ด้านการปฏิบัติการ
- ศึกษา วิเคราะห์ ด้านการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ความรับผิดชอบ เพื่อจัดทำแผนงานสนับสนุนการ รวมกลุ่มของประชาชนในชุมชนในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงแสวงหาและพัฒนาศักยภาพของผู้นำชุมชน กลุ่ม/องค์กร ชุมชน และเครือข่ายองค์กรชุมชน
- ศึกษา วิเคราะห์ ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา และดำเนินการเกี่ยวกับการสร้างความเช้มแข็งของ ชุมชน การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการชุมชน การพัฒนาและ ส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนระดับฐานราก การพัฒนาทุนชุมชนและกองทุนต่าง ๆ ในชุมชนที่อยู่ในความรับผิดชอบ รวมทั้งการพัฒนาปรับปรุงรูปแบบ/วิธีการทำงาน เพื่อให้มีความเหมาะสมกับพื้นที่และบรรลุผลตามเป้าหมายที่ กำหนดไว้
- ศึกษา วิเคราะห์ ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานพัฒนาชุมชนในพื้นที่ความรับผิดชอบ เพื่อหาแนวทางป้องกันและแก้ไชปัญหาที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
- ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำ ส่งเสริมและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาชุมชนของ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ และระบบสารสนเทศของชุมชนในพื้นที่ เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูล การบริหาร จัดการข้อมูล และการใช้ประโยชน์ข้อมูลในการวางแผน การจัดทำแผนการพัฒนา ตลอดจนการบูรณาการ การทำงานร่วมกับหน่วยงานภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในงานพัฒนาชุมชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล
- เสนอแนะแนวทางการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจชุมชน เพื่อสร้างความ สมดุลในการพัฒนาชุมชนและความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชนระดับฐานราก นำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนอย่าง ยั่งยืน
- ส่งเสริม สนับสนุน และดำเนินการด้านการจัดการความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน เพื่อสร้างและพัฒนาระบบการจัดการความรู้ของชุมชนให้สามารถต่อยอดขยายผลไปใช้ประโยชน์ในงานหรือ กิจกรรมการพัฒนาชุมชนด้านต่าง ๆ ของชุมชนได้
- ส่งเสริม สนับสนุนกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ ชุมชนสามารถด้นหาปัญหา วิเคราะห์ ตัดสินใจ วางแผนชุมชน และดำเนินการร่วมกัน เพื่อแก้ไขปัญหาความ ต้องการของตนเองและชุมชนได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนเป็นที่ปรึกษาในงานพัฒนาชุมชนให้กับชุมชนในพื้นที่ รับผิดชอบ
2. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดขอบ และร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน รวมทั้ง หน่วยงานภาคีการพัฒนา ผู้นำขุมขน กลุ่ม/องค์กรขุมขน เครือข่ายองค์กรขุมขน และขุมขน เพื่อให้การ ดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
3. ด้านการประสานงาน
- ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
- ชี้แจง ให้ข้อคิดเห็น และให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4. ด้านการบริการ
- ให้คำปรึกษาแนะนำด้านงานพัฒนาขุมขนแก่หน่วยงานภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้องหรือบุคคลที่ สนใจ หรือประขาขนทั่วไป เพื่อให้มีความรัความเข้าใจและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง และส่วนรวม
- เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานพัฒนาชุมชน เพื่อให้บริการแก่ หน่วยงานภาคีการพัฒนา ประขาขน ผู้นำขุมชน กลุ่ม องค์กรขุมขน เครือข่ายองค์กรขุมขน และขุมขน
- ปฏิบัติงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
วิชาที่สอบ
นักส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
มีรายละเอียดเนื้อหาและขอบเขตวิชาสำหรับดำเนินการประเมินความรู้ความสามารถทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ดังนี้
1. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
- พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
- พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
- ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗
- ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๒
2. กฎหมาย ระเบียบ หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวซ้องในตำแหน่งงานที่สมัคร
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการอำนวยการ หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๕
- ข้อบังคับกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยจริยธรรมและจรรยาข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๙
3. กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับงานพัฒนาชุมชน
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอาสาพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. ๒๕๓๘ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการบริหารและการใช้จ่ายเงินโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน พ.ศ. ๒๕๓๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการส่งเสริมการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ปี ๒๕๕๕
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ และ
- ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการดำเนินงานศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๔
- ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีว่าด้วยการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
- พ.ศ. ๒๕๕๙
4. ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ นโยบายกระทรวงมหาดไทย แผนปฏิบัติราชการ โครงการ/กิจกรรมสำคัญ ชองกรมการพัฒนาชุมชน
5. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐกิจสังคมการเมืองและเหตุการณ์ปัจจุบัน
นักทรัพยากรบุคคล
มีรายละเอียดเนื้อหาและขอบเขตวิชาสำหรับดำเนินการประเมินความรู้ความสามารถทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ดังนี้
1. กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวช้องกับการปฏิบัติราชการทั่วไป
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
- พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราขการ พ.ศ. ๒๕๔๐
- พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
- ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗
- ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๒
2. กฎหมาย ระเบียบ หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวซ้องในตำแหน่งงานที่สมัคร
- ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหาและ
- การเลือกสรรพนักงานราชการและแบบสัญญาจ้างของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๒
- ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง ค่าตอบแทนของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง สิทธิประโยชน์ของพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ เรื่อง แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของ พนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๕๔
- หลักเกณฑ์และวิธีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสร้างแรงจงใจแก่ข้าราชการพลเรือนสามัญ (หนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๓/ว๒๗ ลงวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๓)
- หลักการ ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
- ข้อบังคับกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยจริยธรรมและจรรยาข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๙
3. กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวซ้องกับงานพัฒนาชุมชน
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอาสาพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. ๒๕๓๘ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการบริหารและการใช้จ่ายเงินโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน พ.ศ. ๒๕๓๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการส่งเสริมการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ปี ๒๕๕๕
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ และ
- ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการดำเนินงานศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๔
- ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีว่าด้วยการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. ๒๕๕๙
4. ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔
นโยบายกระทรวงมหาดไทย แผนปฏิบัติราชการ โครงการ/กิจกรรมสำคัญ ของกรมการพัฒนาชุมชน
5. ความรู้ทั่วไปเกียวกับเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน
นักวิชาการคอมพิวเตอร์
มีรายละเอียดเนื้อหาและขอบเขตวิชาสำหรับดำเนินการประเมินความรู้ความสามารถทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ดังนี้
1. กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวซ้องกับการปฏิบัติราชการทั่วไป
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
- พระราขบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
- พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
- ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗
- ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๒
2. กฎหมาย ระเบียบ หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในตำแหน่งงานที่สมัคร
- พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
- หลักการ ทฤษฎี วิธีการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- ข้อบังคับกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยจริยธรรมและจรรยาข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๙
3. กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวซ้องกับงานพัฒนาชุมชน
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอาสาพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไชเพิ่มเดิม
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. ๒๕๓๘ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการบริหารและการใช้จ่ายเงินโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน พ.ศ. ๒๕๓๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการส่งเสริมการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ปี ๒๕๕๕
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ และ ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการดำเนินงานศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๔
- ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีว่าด้วยการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. ๒๕๕๙
4. ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ นโยบายกระทรวงมหาดไทย แผนปฏิบัติราชการ โครงการ/กิจกรรมสำคัญ ของกรมการพัฒนาชุมชน
5. ความรู้ทั่วไปเกียวกับเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน
นักวิชาการพัฒนาชุมชน
มีรายละเอียดเนื้อหาและขอบเขตวิชาสำหรับดำเนินการประเมินความรู้ความสามารถทักษะ และสมรรถนะ ครั้งที่ ๑ (สอบข้อเขียน) ดังนี้
1. กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวซ้องกับการปฏิบัติราชการทั่วไป
- พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
- พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
- พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐
- พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖
- ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. ๒๕๔๗
- ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๒
2. กฎหมาย ระเบียบ หลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวซ้องในตำแหน่งงานที่สมัคร
- หลักการ ทฤษฎี วิธีการปฏิบัติงานพัฒนาชุมชน
- ข้อบังคับกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยจริยธรรมและจรรยาข้าราชการกรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๙
3. กฎหมาย ระเบียบที่เกี่ยวซ้องกับงานพัฒนาชุมชน
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอาสาพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. ๒๕๓๘ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการบริหารและการใช้จ่ายเงินโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน พ.ศ. ๒๕๓๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
- ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการส่งเสริมการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ปี ๒๕๕๕
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดำเนินงานศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๑ และ
- ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชนว่าด้วยการดำเนินงานศูนย์ประสานงานองค์กรชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๔
- ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีว่าด้วยการบริหารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี พ.ศ. ๒๕๕๙
4. ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ นโยบายกระทรวงมหาดไทย แผนปฏิบัติราชการ โครงการ/กิจกรรมสำคัญ ชองกรมการพัฒนาชุมชน
5. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเหตุการณ์ปัจจุบัน
วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมการพัฒนาชุมชน :สมัครทางอินเทอร์เน็ต
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 25 พ.ย. – 8 ธ.ค. 2563 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ดาวน์โหลดไฟล์ “กรมการพัฒนาชุมชน
แผนที่ ประกาศ 1 | เว็บรับสมัคร |