กรมสุขภาพจิต

ลิงค์: https://ehenx.com/15587/ หรือ
ตำแหน่ง: นายแพทย์ปฏิบัติการ,เภสัชกรปฏิบัติการ,นักจิตวิทยาคลินิกปฏิบัติการ,นักเวชศาสตร์การสื่อความหมายปฏิบัติการ,นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานอาชีวบำบัดปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานเวชสถิติปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 10,840-19,830
อัตราว่าง: 10
ปฏิบัติงานที่: นนทบุรี
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 10 พ.ย. – 16 พ.ย. 2564
**ไม่ต้องผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมสุขภาพจิต เปิดรับสมัคร

ประกาศกรมสุขภาพจิต

เรื่อง รับสมัครคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราขการ ในตำแหน่งต่างๆ สังกัดกรมสุขภาพจิต

ด้วยกรมสุขภาพจิต จะดำเนินการคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ ในตำแหน่งต่าง ๆ สังกัดกรมสุขภาพจิต ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๕ และมาตรา ๕๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบกับหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔.๑/ ว ๑๖ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ และที่ นร ๑๐๐๔/ว ๒๐ ลงวันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๔ จึงประกาศรับสมัครคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

นายแพทย์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 18020-19830 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เภสัชกรปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15800-19250 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักจิตวิทยาคลินิกปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักเวชศาสตร์การสื่อความหมายปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เจ้าพนักงานอาชีวบำบัดปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานเวชสถิติปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 10840-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

นายแพทย์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาในสาขาวิชาแพทยศาสตร์ หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ตํ่ากว่านี้ และได้รับ ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม จากแพทยสภา


เภสัชกรปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นทีเทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเภสัชศาสตร์ และ ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาเภสัชกรรมชั้นหนึ่ง หรือได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ เภสัชกรรม จากสภาเภสัชกรรม


นักจิตวิทยาคลินิกปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง ทางจิตวิทยาคลินิก และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาจิตวิทยาคลินิก


นักเวชศาสตร์การสื่อความหมายปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิขาวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ทางเวชศาสตร์การแก่ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบ โรคศิลปะสาขาการแก่ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย


นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันในสาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาเทคนิคการแพทย์ หรือได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบ วิชาชีพเทคนิคการแพทย์ของสภาเทคนิคการแพทย์


เจ้าพนักงานอาชีวบำบัดปฏิบัติงาน

ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ทางนาฏศิลป้ และทางคุริยางคศิลป่ (ไทยหรือสากล)


เจ้าพนักงานเวชสถิติปฏิบัติงาน

ได้รับประกาศนียบัตรซึ่งมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า ๒ ปี ต่อจากประโยคมัธยมศึกษา ตอนปลายที่ศึกษาวิชาสามัญทางการพยาบาล หรือทางเวชสถิติ หรือได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เวชระเบียน

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

นายแพทย์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค ฟืนฟู ส่งเสริมสุขภาพ ควบคุม ป้องกันโรค และภัยสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี และสามารถป้องกันตนเองหรือบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องให้พ้นจากโรคภัยไข้เจ็บ
(๒) ตรวจ วินิจฉัย รักษา ล่งเสริมป้องกัน และฟืนฟูสมรรถภาพผู้ป่วยทางจิตเวชในระดับ เบื้องต้น
(๓) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยด้านวิชาการแพทย์และสาธารณสุขเบื้องต้น เพื่อประกอบการ พัฒนาแนวทางการตรวจ ชันสูตร วินิจฉัย บำบัดรักษา ฟืนฟูสมรรถภาพ ล่งเสริม ควบคุม ป้องกัน เพื่อให้!ด้ องค์ความรู้ทางวิชาการแพทย์และสาธารณสุข ที่สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมกับภารกิจของ ส่วนราชการ
(๔) รวบรวมข้อมูลและศึกษาสภาวะสุขภาพของประชาชนในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบและ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อสุขภาพของประชาชน เพื่อวางแผนการดำเนินงานตรวจ วินิจฉัย รักษา ควบคุม ป้องกัน เฝ็าระวัง รักษาโรค และฟืนฟู ส่งเสริมสุขภาพ ทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เหมาะสมกับ บริบทของพื้นที่
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ๋ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก,บุคคลหรือหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจง เกี่ยวกับงานการแพทย์ การควบคุมป้องกันโรคการฟินฟูสภาพ และการส่งเสริมสุขภาพ ทีตนมีความรับผิดชอบในระดับเบื้องต้น แก,ผู้ป่วยและญาติ หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ และสามารถนำไปปฏิบัติ ให้มีสุขภาพที่ดี
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องต้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศที่เกี่ยวกับ งานการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน
(๓) ถ่ายทอดองค์.ความรู้ เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข แก่บุคลากรสาธารณสุข นักศึกษาและประชาชน เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง และมี ประสิทธิภาพ


เภสัชกรปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านเภสัชกรรม ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมายโดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) บริการทางเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุขเบื้องต้น เพื่อบรรลุผลการรักษา ป้องกัน ควบคุมโรค และประชาชนเกิดความปลอดภัยในการใช้ยา สมุนไพร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
(๒) คุ้มครองผู้บริโภค ตรวจวิเคราะห์ ประกันคุณภาพทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้น ด้านยา สมุนไพร ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนได้รับการบริการ ได้มาตรฐาน เป็นธรรมและปลอดภัย
(๓) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย กำหนดแนวทาง ติดตาม ประเมินผลทางวิชาการเบื้องต้น เพื่อ พัฒนางานเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภค
(๔) จัดทำ พัฒนามาตรฐาน แนวทาง คู่มือเบื้องต้นทางเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภค สมุนไพร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ การแพทย์แผนไทย การแพทย์การเลือก เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของงาน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดขอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมถุทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจและความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจง เกี่ยวกับงานเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภคในระดับเบื้องต้นแก,ผู้ป่วย ญาติ หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ ผู้สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูล ให้บริการข้อมูลเบื้องต้นทางเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครอง ผู้บริโภค เพื่อให้สอดคล้อง สนับสบุนภารกิจของหน่วยงาน และใข้ประกอบการพิจารณากำหนดแผนงาน หลักเกณฑ์และมาตรการต่างๆ
(๓) สอน นิเทศ ฟิกอบรม ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีทางเภสัชกรรม เภสัชสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภคแกนักศึกษา บุคลากรสาธารณสุข เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติงานได้อย่าง ถูกต้อง


นักจิตวิทยาคลินิกปฏิบัติการ

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ

ปฏิบัติงานในฐานะเป็นผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านจิตวิทยาคลินิก ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ประเมิน วิเคราะห์ ตรวจวินิจฉัย ด้วยเครื่องมือทดสอบทางจิตวิทยาคลินิกตาม มาตรฐานวิชาชีพจิตวิทยาคลินิก กับกลุ่มเป้าหมาย เพื่อค้นหา อธิบาย ทำนายแนวโน้มความผิดปกติทางจิต พยาธิสภาพทางสมอง พฤติกรรม อารมณ์ ความคิด พัฒนาการ ศักยภาพ บุคลิกภาพ เชาวน์ปัญญา กลไกที่มา หรือสาเหตุของปัญหาสุขภาพจิตและสารเสพติด ความผิดปกติทางจิตใจ การกระทำผิดกฎหมายหรือกรณีที่ เกี่ยวข้องกับทางกฎหมาย การเจ็บป่วยทางจิตเวชในระดับที่ไม่ซับซ้อน
(๒) ให้การปรึกษา จิตบำบัด พฤติกรรมบำบัด การบำบัดทางจิตวิทยา ฟืนฟูสมรรถภาพ ทางจิตใจ สังคม อารมณ์ สติปัญญา ตามมาตรฐานวิชาชีพจิตวิทยาคลินิก ในระดับที่ไม่ซับช้อน เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายเข้าใจยอมรับปัญหาของตนเอง ปรับเปลี่ยนอารมณ์ ความคิด พฤติกรรม วิธีการปรับตัว หรือ แก้ปัญหา บุคลิกภาพที่บกพร่องให้เหมาะสม และใช้ศักยภาพของตนเองได้
(๓) ส่งเสริม ป้องกัน เฝืาระวัง แก้ไขปัญหาพฤติกรรมสุขภาพจิตหรือสมรรถภาพทางจิตใจ ของกลุ่มเป้าหมาย โดยการวิเคราะห์ วางแผน ดำเนินการด้วยเครื่องมือและกระบวนการทางจิตวิทยาคลินิก เพื่อพัฒนาศักยภาพในการดำเนินชีวิตให้เหมาะสมยิ่งขึ้น ป้องกันการกลับมาป่วยซํ้า หรือกระทำผิดชํ้า
(๔) รวบรวม ศึกษา ข้อมูลงานวิจัย ด้านจิตวิทยาคลินิก และวิชาการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาองค์ความรู้ หรือนวัตกรรมด้านจิตวิทยาคลินิก
(๕) สรุปสถิติ รายงานผลการปฏิบัติงาน ทางจิตวิทยาคลินิก เสนอผู้บังคับบัญชาเพื่อ ประกอบการวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงาน
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด

(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ความรู้วิชาการจิตวิทยาคลินิก วิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ มีความเข้าใจ ปรับใช้ในการดำเนินชีวิต
(๒) ถ่ายทอด ฟิกอบรม องค์ความรู้ เทคโนโลยีด้านจิตวิทยาคลินิก จัดทำแผนการฟิกอบรม เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถของนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป


นักเวชศาสตร์การสื่อความหมายปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการ ทำงาน ปฏิบัติงานด้านการแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมาย ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานด้านการแก้ไขความผิดปกติของการสื่อความหมายตามมาตรฐาน วิชาชีพด้านแก้ไขการได้ยิน หรือด้านแก้ไขการพูดแก่ผู้ใฃ้บริการ ผู้ป่วย เพื่อให้สามารถช่วยเหลือตนเอง และอยู่ ในสังคมด้วยตนเองได้อย่างปกติสุข
(๒) รวบรวมข้อมูลทางวิชาการณ์เบื้องต้นทางด้านความผิดปกติของการสื่อความหมาย ที่ไม่ซับช้อน เพื่อประกอบการวางแผน หรือจัดทำรายงานทางวิชาการ
(๓) ติดตาม ประเมินผล สรุปการศึกษา วิเคราะห์และวิจัยทางด้านความผิดปกติของการ สื่อความหมาย เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนงาน โครงการที่มีอยู่ในความรับผิดชอบ
(๔) ศึกษา วิเคราะห์ สำรวจข้อมูล และประเมินผลด้านความผิดปกติของการสื่อ ความหมายที่ไม่ซับซ้อน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมถุทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริงแก,บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้บริการเชิงวิชาการด้านความผิดปกติของการสื่อความหมายในระดับที่ซับช้อนแก บุคลากรทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน
(๒) สอน นิเทศ ฟิกอบรม หรือถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยี ด้านความผิดปกติของการสื่อ ความหมาย แก่ผู้ร่วมทีมงาน ผู้ใต้บังคับบัญชา และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

(๓) อำนวยการพัฒนาในการถ่ายทอด ฟิกอบรม หรือถ่ายทอดความรู้ แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ด้านความผิดปกติของการสื่อความหมาย เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และบรรลุเป้าหมายขององค์กร


นักเทคนิคการแพทย์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะเป็นผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิขาการ ในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านเทคนิคการแพทย์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการขั้นพื้นฐาน ควบคุมระบบคุณภาพ ตามมาตรฐานงานเทคนิคการแพทย์ เพื่อให้ผู้รับบริการ ได้รับผลการตรวจวิเคราะห์ที่ถูกต้อง แม่นยำ และทันเวลา
(๒) รวบรวมข้อมูลทางวิขาการเบื้องต้นด้านเทคนิคการแพทย์ที่ไม,ยุ่งยากซับช้อน เพื่อประกอบการวางแผนการจัดทำรายงานทางวิชาการ เพื่อพัฒนางานด้านเทคนิคการแพทย์และสาธารณสุข
(๓) ติดตาม ประเมินผล สรุปผลการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ด้านเทคนิคการแพทย์ เพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนงานโครงการที่รับผิดชอบ
(๔) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย สำรวจข้อมูลทางวิชาการเบื้องต้นที่ไม,ซับซ้อน เพื่อใช้ข้อมูล ในการวางแผนพัฒนางานด้านเทคนิคการแพทย์และสาธารณสุข
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก,บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการให้แก่ผู้ใช้บริการ ผู้ป่วย ญาติ ประชาชนทั่วไป เพื่อให้มีความเข้าใจในการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
(๒) สอน แนะนำ การปฏิบัติงาน แก,บุคลากรด้านสาธารณสุขและนักศึกษา เพื่อให้มี ความรู้ความสามารถและทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานทางห้องปฏิบัติการและแก้ไขปัญหาอย่างมี ประสิทธิภาพ

(๓) ให้บริการข้อมูล แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องทีเกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ เพื่อให้ได้ ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน


เจ้าพนักงานอาชีวบำบัดปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม,จำเป็นต้องใซัผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านอาขีวบำบัด ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานอาขีวบำบัดเบื้องต้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการบริการที่ถูกต้องเหมาะสม
(๒) ควบคุม เฝัาระวัง รายงานผลการให้บริการงานอาชีวบำบัดของผู้ป่วยที่ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน เพื่อดำเนินการบำบัด ฟินฟูผู้ป่วย
(๓) จัดเตรียม ดูแล บำรุงรักษาอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใชในการปฏิบัติงาน เพื่ออำนวย ความสะดวกและพร้อมให้บริการผู้ป่วยได้
(๔) จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับสภาพในการปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาสภาพจิตใจและ ความสะดวก ปลอดภัยของผู้ป่วย
๒. ด้านการบริการ
(๑) ประชาสัมพันธ์ แนะนำความรู้ในงานอาขีวบำบัดเบื้องต้นแก,ผู้ป่วย ญาติ เจ้าหน้าที่เพื่อ ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง
(๒) ติดต่อประสานงานภายในกลุ่มงานเดียวกัน เพื่อให้สามารถบริการผู้ป่วยได้อย่างมี ประสิทธิภาพ


เจ้าพนักงานเวชสถิติปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม,จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านเวชสถิติ ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านปฏิบัติการ
(๑) ให้บริการในงานเวชระเบียน อย่างมีมาตรฐานเพื่อการรักษา ดูแลสุขภาพผู้ป่วย
(๒) ให้บริการ จำแนกประเภทผู้ป่วย เพื่อการส่งผู้ป่วยไปรับการรักษากลุ่มเฉพาะโรค ได้อย่างถูกต้อง
(๓) ให้รหัสทางการแพทย์ตามมาตรฐานได้อย่างถูกต้องเพื่อใช้ประกอบการปฏิบัติงาน ของบุคลากรทางการแพทย์
(๔) เก็บรวบรวมข้อมูลทางการแพทย์ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอเจ้าหน้าที่ระดับสูง ขึ้นไป
๒. ด้านบริการ
(๑) ให้บริการข้อมูลเวชระเบียนและสถิติประเภทต่าง ๆ แก,หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บุคลากรทางการแพทย์ ประชาชน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ศึกษา อ้างอิง วางแผนงานต่าง ๆ
(๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกัน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่าง ราบรื่นและมีประสิทธิภาพ

วิธีการสมัครงานพนักงานราชการ กรมสุขภาพจิต  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 10 พ.ย. – 16 พ.ย. 2564 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดไฟล์ “กรมสุขภาพจิต

แผนที่ ประกาศ 1 | เว็บรับสมัคร |

Facebook Comments