สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย
ลิงค์: https://ehenx.com/17452/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ,นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,500-16,500
อัตราว่าง: 5
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: บัดนี้ – 25 ส.ค. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**
—
สำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย เปิดรับสมัคร
เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งนักวิทยาศๅสตร์ปฏิบัติการ ตำแหน่งนายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน ตำแหน่งเจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน และตำแหน่งเจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน
ด้วยสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและนํ้าตาลทรายจะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้ง บุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งนักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ ตำแหน่งนายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน ตำแหน่งเจ้าพนักงาน วิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน และตำแหน่งเจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรือง การสรรหาโดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศ รับสมัครสอบแข่งขันฯ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท
คุณวุฒิ : ปริญญาตรี
นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 1 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน
อัตราว่าง : 2 อัตรา
อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท
คุณวุฒิ : ปวส.
นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ
1) ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ หรือสาขา วิศวกรรมศาสตร์ ทางวิศวกรรมการเกษตร ทางวิศวกรรมเกษตร ทางวิศวกรรมเคมี ทางวิศวกรรมการอาหาร หรือทางวิศวกรรมอาหาร
2) ผู้สมัครสอบต้องเป็นผู้สอบผ่านการสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สมัครสอบหรือสูงกว่า
นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน
1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันใน สาขาวิชาเครื่องกล สาขาเทคนิคเครื่องกล สาขาวิชาเขียนแบบเครื่องกล สาขาวิชาไฟฟ้า สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์ สาขาวิชาเมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์ สาขาวิชาเทคนิคการผลิต สาขาวิชาเทคนิคโลหะ สาขาวิชาช่างกลการเกษตร สาขาวิชาช่างกลเกษตร สาขาวิชาโยธา สาขาวิชาก่อสร้าง สาขาวิชาการก่อสร้าง หรือสาขาวิชาช่างก่อสร้าง
2.) ผู้สมัครสอบต้องเป็นผู้สอบผ่านการสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สมัครสอบหรือสูงกว่า
เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน
1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันใน สาขาวิชาเครื่องกล สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเคมีสิ่งทอ หรือสาขาวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ
2) ผู้สมัครสอบต้องเป็นผู้สอบผ่านการสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สมัครสอบหรือสูงกว่า
เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน
1) ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ในระดับ เดียวกันในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาเกษตรอุตสาหกรรม สาขาวิชาธุรกิจเกษตรและสหกรณ์ สาขาวิชาพืชศาสตร์ สาขาวิชาช่างกลการเกษตร หรือสาขาวิชาการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
2) ผู้สมัครสอบต้องเป็นผู้สอบผ่านการสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ในระดับเดียวกันกับคุณวุฒิที่ใช้สมัครสอบหรือสูงกว่า
นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ
ปฏิบัติงานในฐานะปฏิบัติงานในระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการใน ทำงานปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายใต้กำกับ แนะนำตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา ค้นว้า และวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้
(๒) วิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ทางวิทยาศาสตร์ ของ วัตฤตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๓) ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญ จัดทำฐานข้อมูลท้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาท้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
(๔) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรสกอบรมและถ่ายทอดความรัและร่วม บ่ ‘บ
ดำเนินการจัดสกอมรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าของวิทยาการด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
(๕) ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๖) ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการเพื่อให้ดำเนินงานเป็นไปตามเบีาหมายและผลสัมฤทธื้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงานเพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามโครงการที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำเบื้องต้นทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแกผู้ประกอบการ ส่วนราชการ และประชาชนผู้สนใจทั่วไปเพื่อใพ้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลความรู้ต่าง ๆ และนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(๒) เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความรู้ความ เข้าใจให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง
เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ
นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านเทคนิค ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ขัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณธงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ดูแล ควบคุม ตรวจซ่อมและบำรุงรักษา ระบบสาธารญปโภค เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ วัสดุและครุภัณฑ์อื่น ๆ ในรับผิดชอบ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและพร้อมในการใช้งาน
(๒) ซ่อม สร้าง ผลิต ประกอบ ดัดแปลง เขียนหรือออกแบบ ติดตั้ง เครื่องจักร เครื่องยนต์ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ รวมทั้งการทดลองใช้เครื่องจักร เครื่องกล และสิ่งก่อสร้าง เพื่อให้เป็นไปตามหลักวิชา และมาตรฐานงานช่าง และให้เกิดความปลอดภัย
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษา แนะนำ จัดทำข้อมูล ถ่ายทอดความรู้ทั้งในเชิงทักษะเฉพาะด้านและ ทักษะทั่วไปให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชน เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถและมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงานในหน้าที่
(๒) ติดต่อประสานกับหน่วยงานหรือเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวซ้องตามที่ได้รับมอบหมาย
เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์ ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดเตรียม ดูแลรักษาเครืองมือ อุปกรณ์ เคมีภัณฑ์ที่ใช้ปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี รวมทั้งจัดทำทะเบียน การเบิกจ่ายวัสดุ และเคมีภัณฑ์ เพื่อให้สามารถนำไปใช้ได้อย่างลูกต้อง
และเหมาะสม
(๒) ช่วยปฏิบัติงานวิเคราะห์ทดสอบ สอบเทียบ วิจัยเบื้องต้น และช่วยรวบรวมข้อมูล เพื่อให้นักวิชาการสามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว
๒. ด้านการบริการ
ให้คำปรึกษา และคำปรึกษาแก่บุคคลที่เกี่ยวข้องในเรื่องเกี่ยวกับงานที่รับผิดชอบทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อล่งเสริมความรู้ความเข้าใจ
เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านการเกษตร ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายโดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ช่วยทำการศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนา ทดลอง ทดสอบ วิเคราะห์ ตรวจสอบ รับรอง ทางด้านวิชาการเกษตร เพื่อให้มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
(๒) ผลิต และให้บริการ ด้านพืช และปัจจัยการผลิต เพื่อให้ได้ผลผลิตตามเบ้าหมายและ มีคุณภาพตามมาตรฐาน
(๓) ปฏิบัติการด้านวิชาการเกษตร เช่น การดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมาย การพัฒนา ที่ดิน การส่งเสริมการเกษตร การจัดการไร่นา การใช้นี้าชลประทาน เป็นต้น เพื่อสนับสบุนงานวิชาการและเผยแพร่ ความรู้แกเกษตรกร
(๔) ช่วยวางแผน ส่งเสริมการผลิต และจัดทำโครงการสนับสบุน การผลิตของเกษตรเพื่อ เป็นการเพิ่มผลผลิตของเกษตรกร
๒. ด้านการบริการ
(๑) สาธิต แนะนำ ส่งเสริม ฟิกอบรม และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร เพื่อนำความรู้Iปปฏิบัติ
(๒) ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ และแนะแนวทางการแกไขปัญหาการเกษตรเพื่อให้ มีการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ
ผู้สมัครสอบต้องเข้าสอบแช่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ โดยวิธีการสอบข้อเขียน (ปรนัยและอัตนัย) รายละเอียดเนื้อหาวิชาที่สอบดังต่อไปนี้
๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ทางกายภาพ การปฏิบัติการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ
๒. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพ ทางการเกษตร และอุตสาหกรรม
๓. ความรู้เกี่ยวกับเกี่ยวกับการจัดการผลิตพืช การจัดการโรคแมลง การจัดการดิน
๔. ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติอ้อยและนํ้าตาลทราย พ.ศ. ๒๔๒๗
นายช่างเทคนิคปฏิบัติงาน
ผู้สมัครสอบต้องเช้าสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งนายข่าง เทคนิคปฏิบัติงาน โดยวิธีการข้อเขียน (ปรนัยและอัตนัย) ดังนี้
๑. ความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางช่างเทคนิคในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านเครื่องกล ระบบไฟฟ้า หรือไฟฟ้ากำลัง ด้านอิเล็กทรอนิกส์ และด้านโยธา เป็นต้น
๒. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับติดตั้ง ปรับปรุง ดัดแปลง ตรวจสอบ ซ่อมบำรุงรักษาอุปกรณ์ หรือเครื่องจักรกล/เครื่องจักรกลทางการเกษตร รวมทั้งระบบสาธารญปโภคต่าง ๆ
๓. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนแบบวิศวกรรม เช่น การเขียนแบบเครื่องกล การเขียนแบบไฟฟ้า การเขียนแบบก่อสร้าง และการเขียนแบบโยธา เป็นต้น
๔. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การติดตั้ง การซ่อมบำรุงรักษา และทักษะการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน
ผู้สมัครสอบต้องเข้าสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซัเฉพาะตำแหน่งเจ้าพนักงาน วิทยาศาสตร์ปฏิบัติงาน โดยวิธีการสอบข้อเขียน (ปรนัยและอัตนัย) ดังนี้
๑. ความรู้ความเข้าใจพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ (เคมี)
๒. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
๓. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับห้องปฏิบัติการ การปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ และความ ปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
๔. ความรู้ความเข้าใจและทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลการ วิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ
เจ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัติงาน
ผู้สมัครสอบต้องเข้าสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซัเฉพาะตำแหน่งเจ้าพนักงาน การเกษตรปฏิบัติงาน โดยวิธีการสอบข้อเขียน (ปรนัยและอัตนัย) ดังนี้
๑. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการผลิตและการขยายพันธุอ้อยพันธุดี
๒. ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนาพันธุอ้อย
๓. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการศัตรูอ้อย
๔. ความรู้ทั่วไปและความรู้พื้นฐานด้านการเกษตร เข่น ความรู้เกี่ยวกับ ดิน ปุ่ย และ การปรับปรุงบำรุงดิน เป็นต้น
ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ บัดนี้ – 25 ส.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร