กรมประชาสัมพันธ์

ลิงค์: https://ehenx.com/17709/ หรือ
ตำแหน่ง: นักสื่อสารมวลชนปฏิบัติการ(ด้านภาษาอังกฤษ),นักสื่อสารมวลชนปฏิบัติการ(ด้านทั่วไป),นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ(ด้านภาษาอังกฤษ),นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ(ด้านทั่วไป),นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ,นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ,นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ,นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ,นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน,เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน,นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน,นายช่างโยธาปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรี,ปริญญาตรีทุกสาขา,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 11,500-16,500
อัตราว่าง: 34
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 20 ต.ค. – 14 พ.ย. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมประชาสัมพันธ์ เปิดรับสมัคร

ประกาศกรมประชาสัมพันธ์

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในกรมประชาสัมพันธ์

ด้วยกรมประชาสัมพันธ์ จะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ ในกรมประชาสัมพันธ์ ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรื่อง การสรรหา โดยการสอบแข่งชันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งชันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคล เข้ารับราชการในกรมประชาสัมพันธ์ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

นักสื่อสารมวลชนปฏิบัติการ (ด้านภาษาอังกฤษ)

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักสื่อสารมวลชนปฏิบัติการ (ด้านทั่วไป)

อัตราว่าง : 7 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ (ด้านภาษาอังกฤษ)

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ (ด้านทั่วไป)

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรีทุกสาขา*


นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 5 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 11500-12650 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

นักสื่อสารมวลชนปฏิบัติการ (ด้านภาษาอังกฤษ)

ได้รับปริญญาตรีทุกสาขาวิชา
ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
–    มีทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้ง ๔ ทักษะ (พิง พูด อ่าน เขียน) ระดับดีขึ้นไป
–    สามารถวางแผน บริหารจัดการ ลงมือปฏิบัติ และประเมินผลการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์สู่กลุ่มเป้าหมายทั้งใน และต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
–    มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกแบบเนื้อหาและการใช้งานสื่อดั้งเดิมและสื่อออนไลน์ แต่ละประเภทให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกันได้เป็นอย่างดี
–    มีทักษะในการจับประเด็นสำคัญ และนำมาสื่อสารต่อได็ในภาษาที่เข้าใจง่ายและเหมาะสม กับผู้รับสารแต่ละกลุ่ม
–    มีทักษะการทำงานเป็นทีมที่ดี
–    มีทักษะในการประสานงานกับบุคคลทั้งภายใน.และภายนอกองค์กรเป็นอย่างดี
–    มีทักษะในการแกั1ขปัญหาเฉพาะหน้าและรับมือกับการทำงานในภาวะกดดันได้ดี


นักสื่อสารมวลชนปฏิบัติการ (ด้านทั่วไป)

ได้รับปริญญาตรีทุกสาขาวิชา
ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
–    มีความรู้ ความสามารถในด้านการจัดรายการ การรายงานข่าว
–    มีความสามารถในการสื่อสาร พูด อ่าน เขียน ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
–    มีความรู้ ความสามารถในการศึกษา วิเคราะห์ประเด็น สรุปเหตุผล และปรับวิธีการทำงาน ให้ยืดหยุ่นตามสถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
–    ติดตามและรับรู้ข่าวสาร และสถานการณ์ปัจจุบัน
–    มีความรอบรู้ในการใช้เครื่องมือสื่อสารทั้งสื่อเก่า และสื่อใหม่
–    มีความกระดือรือร้น มีมนุษยสัมพันธ์ และทัศนคติในการให้บริการที่ดี
–    มีบุคลิกดี แต่งกายเหมาะสมกับกาลเทศะ
–    ทักษะด้านงานสื่อสารมวลชน (ทีวี วิทยุ)
–    ทักษะในการบริหาร/จัดทำผัง.รายการ (ทีวี)
–    ทักษะด้านความรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ (ด้านภาษาอังกฤษ)

ได้รับปริญญาตรีทุกสาขาวิชา
ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
–    มีทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทั้ง ๔ ทักษะ (ฟ้ง พูด อ่าน เขียน) ระดับดีขึ้นไป
–    มีทักษะในการใช้โปรแกรมผลิตสื่อดิจิทัลขั้นพื้นฐาน


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ (ด้านทั่วไป)

ได้รับปริญญาตรีทุกสาขาวิชา
ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
–    วางแผน กำหนดเป้าหมาย จัดทำแผนการสื่อสาร และช่องทางการสื่อสาร (Media plan) ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
–    วิเคราะห์ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ติดตาม ทิศทางการสื่อสารประชาสัมพันธ์ เพื่อประโยชน์ในการวางแผน
–    ใช้เครื่องมือสำคัญในการสื่อสาร เช่น Social Listening/google trend ได้
–    สามารถวิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูลได้
–    สามารถสื่อสาร (พูด/เชียน/อ่าน) และสรุปประเด็นใจความสำคัญได้
–    ความรู้เรื่องเท่าทันสื่อ
–    การทำงานเป็นทีม
–    ทัศนคติในการสร้างภาพลักษณ์ข้าราชการที่ดีต่อประชาชน


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีทุกสาขาวิชา


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่งทางคอมพิวเตอร์
ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
–    สมรรถนะ ทักษะด้านการบริหารจัดการข้อมูล (Data Governance)
–    สมรรถนะ ทักษะด้านการวิเคราะห์ข้อมูลและการประมวลผลข้อมูล (Data Analytic)
–    สมรรถนะ ทักษะด้านแผนภาพข้อมูล (Data Visualization)
–    สมรรถนะ ทักษะเบื้องด้นด้านระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบความมั่นคงปลอดภัยคอมพิวเตอร์
–    สมรรถนะ ทักษะเบื้องด้นด้านการเขียนโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
–    สมรรถนะ ทักษะเบื้องต้นด้านคอมพิวเตอร์กราฟิกและมัลติมีเดีย


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรี ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาบริหารธุรกิจ หรือสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์


นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการภายในสำนักงานหรือการบริหารราชการทั่วไป ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา รวบรวมข้อมูล สถิติ สรุปรายงาน เพื่อสนับสนุนการบริหารสำนักงานในด้านต่าง ๆ เช่น งานบริหารทรัพยากรบุคคล งานบริหารงบประมาณ งานบริหารแผนปฏิบัติราชการ งานบริหารอาคารสถานที่ และงานสัญญาต่าง ๆ เป็นต้น
(๒) ปฏิบัติงานเลขานุการของผู้บริหาร เช่น การกลั่นกรองเรื่อง การเตรียมเอกสารสำหรับ การประชุม เป็นต้น เพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการวินิจฉัยสั่งการของผู้บริหาร
(๓) จัดเตรียมการประชุม บันทึก และเรียบเรียงรายงานการประชุม และรายงานอื่น ๆ เพื่อให้การบริหารการประชุมมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน
(๔) ทำเรื่องติดต่อกับหน่วยงานและบุคคลต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อให้ การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนด
(๕) ช่วยติดตามการปฏิบัติตามมติของที่ประชุม หรือการปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บริหาร ของหน่วยงาน เพื่อการรายงานและเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาของผู้บังคับบัญชาต่อไป
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑)ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ตอบปัญหา ชี้แจง และให้คำแนะนำเกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องด้น แก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบข้อมูล และเกิดความเข้าใจ ในงานที่รับผิดชอบ


นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรี ในสาขาวิชาใดสาขาวิชาหนึ่ง ทางโสตทัศนศึกษา ทางเทคโนโลยีการศึกษา ทางเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา ทางครุศาสตร์เทคโนโลยี หรือทางเวชนิทัศน์ หรือสาขาวิชานิเทศศาสตร์ ทางนิเทศศาสตร์ ทางวารสารศาสตร์ ทางสื่อสารมวลชน หรือทางนิเทศศาสตร์การพัฒนา หรือสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งหรือหลายสาขาวิชา
ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
–    การใช้โปรแกรมต่าง ๆ ในงานกราฟิก เช่น Photoshop/Illustrator/lnDesign Premiere Pro งานตัดต่อภาพ VDO ภาพนึ่ง ภาพเคลื่อนไหว
–    ความคิดสร้างสรรค์ด้าน Graphic Design ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์/รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อภาพนึ่ง สื่อภาพเคลื่อนไหว สื่อมัลติมีเดีย Infographic Presentation
–    Team Products/Social Media/Platform ขององค์กร
–    ทักษะการทำงานเป็นทีมอย่างมีประสิทธิภาพและมีความคิดเชิงบวก


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงทุกสาขา (ปวส.)


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

ได้รับประกาศบืยบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.)ในสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง (ปวส.) ในสาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรคมนาคม สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ หรือสาขาวิชาอื่นที่ ก.พ. กำหนดว่า ใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนี๋ได้


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

ได้รับประกาศบียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาโยธา สาขาวิชาการก่อสร้าง สาขาวิชาสำรวจ หรือสาขาวิชาอื่นที ก.พ. กำหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนี้ได้

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

นักสื่อสารมวลชนปฏิบัติการ (ด้านภาษาอังกฤษ)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา จัดเตรียม และรวบรวมข้อมูล เพื่อผลิตรายการตามที่ได้รับมอบหมาย
(๒) อ่านข่าว ประกาศ บทความ สารคดี ทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ เป็นพิธีกร และดำเนินการถ่ายทอดเลียงนอกสถานที่ในงานต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน
(๓)ทำหน้าที่ผู้สื่อข่าว ผู้ช่วยบรรณาธิการในการเรียบเรียง และผลิตข่าว เพื่อให้การเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล
(๔) รวบรวมและจัดทำฐานข้อมูลด้านข่าวและรายการ เพื่อประโยชน์แก่การสืบค้น
(๕) ติดตามผลการรับพิงและคำดิชมต่าง ๆ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนา คุณภาพรายการ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒)ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจ หรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้บริการข้อมูลด้านข่าวและรายการ แก่หน่วยงานราชการ เอกชน ข้าราชการ หรือประชาชนทั่วไป เพื่อสนับสนุนงานตามภารกิจของหน่วยงาน หรือเพื่อนำไปใซในประโยชน์ด้านอื่น ๆ


นักสื่อสารมวลชนปฏิบัติการ (ด้านทั่วไป)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษา จัดเตรียม และรวบรวมข้อมูล เพื่อผลิตรายการตามที่ได้รับมอบหมาย
(๒) อ่านข่าว ประกาศ บทความ สารคดี ทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ เป็นพิธีกรและดำเนินการ ถ่ายทอดเสียงนอกสถานที่ในงานต่าง ๆ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน
(๓) ทำหน้าที่ผู้สื่อข่าว ผู้ช่วยบรรณาธิการในการเรียบเรียง และผลิตข่าว เพื่อให้การเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล
(๔) รวบรวมและจัดทำฐานข้อมูลด้านข่าวและรายการ เพื่อประโยชน์แก่การสืบค้น
(๕) ติดตามผลการรับพิงและคำติชมต่าง ๆ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนา คุณภาพรายการ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประลานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธื้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้บริการข้อมูลด้านข่าวและรายการแก่หน่วยงานราชการ เอกชน ข้าราชการ หรือประชาชนทั่วไป เพื่อสนับสนุนงานตามภารกิจของหน่วยงาน หรือเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านอื่น ๆ


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ (ด้านภาษาอังกฤษ)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ลังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑)จัดกิจกรรมตามโครงการประชาสัมพันธ์ทั้งในและด่างประเทศโดยประสานงานกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานประชาสัมพันธ์บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย
(๒) สำรวจความคิดเห็นของประชาชน และรวบรวมข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ และสรุปผล เพื่อเป็นข้อมูลในการดำเนินการประชาสัมพันธ์
(๓) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการวิจัย วางแผนการประชาสัมพันธ์ และติดตามผล
(๔) จัดทำเอกสาร และผลิตบทความ เพื่อการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
(๕) จัดทำข้อมูลข่าวสารประเด็นต่างประเทศ และเผยแพร่ผ่านสื่อออนไลน์
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานชองหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้บริการข้อมูลการประชาสัมพันธ์แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องตรงตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ (ด้านทั่วไป)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ลังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดกิจกรรมตามโครงการประชาสัมพันธ์ทั้งในและต่างประเทศ โดยประสานงานกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การดำเนินงานประชาสัมพันธ์บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมาย
(๒) สำรวจความคิดเห็นของประชาชน และรวบรวมข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ และสรุปผล เพื่อเป็นข้อมูลในการดำเนินการประชาสัมพันธ์
(๓) ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการวิจัย วางแผนการประชาสัมพันธ์ และติดตามผล
(๔) จัดทำเอกสาร และผลิตบทความ เพื่อการประชาสัมพันธ์และเผยแพร่
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้บริการข้อมูลการประชาสัมพันธ์แก่ประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องตรงตามข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านการบริหารหรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบ้ตการ
(๑) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประกอบการวางระบบ การจัดทำมาตรฐานหรือหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ หรือของส่วนราชการ
(๒) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อประกอบการ ดำเนินงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
(๓) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการกำหนดความต้องการและความจำเป็น ในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล การวางแผนทางก้าวหน้าในอาชีพ การจัดหลักสูตรและการถ่ายทอดความรู้ การจัดสรรทุนการศึกษา และการดูแลนักเรียนทุนและบุคลากรภาครัฐในต่างประเทศ รวมถึงการวางแผน และเสนอแนะนโยบายห่รือยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการและแผนการจัดสรรทุนการศึกษา และการฟิกอบรม
(๔) ศึกษา รวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์งาน เพื่อประกอบการกำหนดตำแหน่งและ การวางแผนอัตรากำลังของส่วนราชการ
(๕) ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อประกอบการวางหลักเกณฑ์การบริหาร ผลการปฏิบัติงาน และการบริหารค่าตอบแทน
(๖) ศึกษา รวบรวม ตรวจสอบข้อมูล ถ้อยคำ ข้อเท็จจริง เพื่อประกอบการดำเนินการทางวินัย การรักษาวินัยและจรรยา
(๗) ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาระบบพิทักษ์คุณธรรม
(๘) ดำเนินการเกี่ยวกับกระบวนการสรรหาและเลือกสรร เพื่อบรรจุและแต่งตั้ง ผู้มีความรู้ความสามารถให้ดำรงตำแหน่ง
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประลานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจ หรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำชี้แจง ตอบปัญหาเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชนข้าราชการ พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือประชาชนทั่วไป เกี่ยวกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสร้างความเข้าใจและสนับสมุนงานตามภารกิจของหน่วยงาน
(๒) ให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสนับสมุน ภารกิจของบุคคลหรือหน่วยงานและใช้ประกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ และมาตรการต่าง ๆ
(๓)ดำเนินการจัดสวัสดิการและการส่งเสริมสภาพแวดล้อมในการทำงาน เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพ การปฏิบัติงาน


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการคอมพิวเตอร์ ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ชุดคำสั่งระบบปฏิบัติการ ชุดคำสั่งสำเร็จรูป ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนให้งานเทคโนโลยีสารสนเทศดำเนินไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงาน
(๒) ประมวลผลและปรับปรุงแก้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ข้อมูลที่ได้ถูกต้องแม่นยำ และทันสมัย
(๓) ทดสอบคุณสมบัติด้านเทคนิคของระบบ เพื่อให้ระบบมีคุณสมบัติที่ถูกต้องตรงตาม ความต้องการ และสภาพการใช้งานของหน่วยงาน
(๔) เขียนชุดคำสั่งตามข้อกำหนดของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลที่ได้วางแผนไว้ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) เซียนชุดคำสั่ง ทดสอบความถูกต้องของคำสั่ง แก้ไขข้อผิดพลาดของคำสั่ง เพื่อให้ระบบปฏิบัติการทำงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ และมีประสิทธิภาพ
(๖) ช่วยรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ความต้องการของระบบงานประยุกต์ และระบบข้อมูลของ หน่วยงานที่ไม่ซับช้อน เพื่อพัฒนาระบบงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และตรงตาม ความต้องการของหน่วยงาน
(๗) ช่วยรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบงานประยุกต์ เพื่อให้ได้ ระบบงานประยุกต์ที่ตรงตามคุณลักษณะ และความต้องการของหน่วยงาน
(๘) รวบรวมข้อมูลประกอบการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ระบบเครือขำย ระบบงานประยุกต์ และระบบสารสนเทศ การจัดการระบบการทำงานเครื่อง การดิดดตั้ง ระบบเครื่องเพื่อให้ได้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกันและตรงตามความต้องการใช้ของหน่วยงาน
(๙) ช่วยตรวจสอบ สืบค้น และรวบรวมข้อมูลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เข้าข่าย ไม่เหมาะสม ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับที่กำหนด หรือไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูล หรือระบบ
(๑๐) ช่วยตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบการออกใบอนุญาต เพื่อให้ออก ใบอนุญาตเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจ หรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(    ๑) ช่วยจัดทำคู่มือระบบและคู่มือผู้ใช้ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตนเอง อย่างมีประสิทธิภาพ
(    ๒) ดำเนินการ■สกอบรม หรือถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนการใช้ระบบงานที่พัฒนา แก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งาน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านวิชาการคอมพิวเตอร์
(    ๓) ให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ใช้เมื่อมีปัญหา หรือข้อสงสัยในการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อให้ผู้ใช้สามารถแก่ไข และใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการเงินและบัญชี ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำบัญชี เอกสารรายงานความเคลื่อนไหวทางการเงิน ทั้งเงินใน และเงินนอกงบประมาณ เงินทุนหมุนเวียน เพื่อแสดงสถานะทางการเงิน และใช้เป็นฐานข้อมูลที่ถูกต้องตามระเบียบวิธีการบัญชี ของส่วนราชการ
(๒) รวบรวมข้อมูล และรายงานการเงินของส่วนราชการ เพื่อพร้อมที่จะปรับปรุงข้อมูล ให้ถูกต้องและทันสมัย
(๓) จัดทำและจัดสรรงบประมาณแก่หน่วยงานของรัฐเพื่อให้การจัดสรรงบประมาณตรงกับ ความจำเป็น และวัตถุประสงค์ของแต่ละหน่วย
(๔) ศึกษาวิเคราะห์ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้การใช้จ่ายเงิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการจัดทำ และจัดสรรงบประมาณ
(๕) ดูแลการรับและจ่ายเงิน สถานะทางการเงิน ตรวจสอบเอกสารสำคัญการรับ – จ่ายเงิน เพื่อให้การรับ – จ่ายเงินขององค์กรมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติการถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติของราชการ
(๖) ถ่ายทอดความรู้ด้านการเงินและบัญชีแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เช่น ให้คำแนะนำ ในการปฏิบัติงาน วางโครงการกำหนดหลักสูตร และขิกอบรม จัดทำคู่มือประจำสำหรับการขิกอบรม และวิธีใช้อุปกรณ์เครื่องมือที่ถูกต้อง เป็นต้น เพื่อถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐาน และข้อกำหนด
๒. ด้านทารวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธี้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑)ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชีที่ตนมีความรับผิดชอบ ในระดับเบื้องต้นแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและ ความรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์
(๒) จัดเก็บข้อมูลเบื้องด้น ทำสถิติ ปรับปรุง หรือจัดทำฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศ ที่เกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี เพื่อให้สอดคล้องและสนับสนุนภารกิจของหน่วยงาน และใช้ประกอบการ พิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่าง ๆ


นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

ได้รับปริญญาตรีทุกสาขาวิชา


นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิชาการโสตทัศนศึกษา ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านกๆรปฏิบัติการ
(๑) จัดเตรียมและควบคุมการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง เครื่องฉาย การผลิตวัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ในการจัดแสดงหรือบรรยาย เพื่อให้การแสดงหรือบรรยายที่ต้องอาศัยเครื่องเสียงหรือเครื่องฉาย ดำเนินไปโดยความเรียบร้อย และเกิดความเหมาะสม
(๒) ช่วยเขียน เรียบเรียง คำบรรยายภาพ คำบรรยายแผนภูมิ บทรายการวิทยุ ภาพยนตร์ หรือโทรทัศน์ เพื่อเผยแพร่ความรู้ หรือข้อมูลอันเป็นประโยชน์ในด้านต่าง ๆ
(๓) จัดหา ดูแล รักษา ซ่อมแช่ม เครื่องเสียง เครื่องฉาย ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถใช้งานได้ดี ประหยัดงบประมาณของหน่วยงาน และดำเนินงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานห่รือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจ หรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
ให้คำปรึกษา แนะนำในด้านการใช้ บำรุงรักษาเครื่องเสียง เครื่องฉาย ตลอดจนโสตทัศนูปกรณ์ แก่หน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้สามารถดำเนินการด้านโสตทัศนศึกษาได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทางแบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลกษณะงานที่ปฏิบัติ ในด้านต่าง ๆ ด้งนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่งลงทะเบียนร่างหนังสือโต้ตอบ จัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้โดยสะดวกราบรื่น และมีหลักฐานตรวจสอบได้
(๒) รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสารหลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวกต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ
(๓) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไวิใช้งาน และอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
(๔) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
๒. ด้านการบริการ
(๑) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น
(๒) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการเพื่อใหได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
(๓) ผลิตเอกสารต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน และปฏิบัติ หน้าที่อื่นที่เกี่ยวช้องตามที่ได้รับมอบหมาย


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใข้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชี ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) จัดทำและปฏินํติงานด้านเอกสารทางการเงินและบัญชีในระดับต้น เพื่อให้งานเป็นไปตาม เป้าหมายที่กำหนด
(๒) รวบรวมรายละเอียดการจัดทำงบประมาณ เพื่อใช้ประกอบในการทำงบประมาณประจำปี ของหน่วยงาน
(๓) ตรวจสอบและดูความถูกต้องของเอกสารสำคัญทางการเงิน เพื่อให้เกิดความถูกต้อง ในการปฏิบัติงาน
(๔) ประสานงานในระดับฝ่ายหรือกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงานและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อ การทำงานของหน่วยงาน
๒. ด้านการบริการ
(๑)ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา ชี้แจงเกี่ยวกับงานการเงินและบัญชี แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน และประชาชนทั่วไป เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความชำนาญแก่ผู้ที่สนใจ
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือ และความร่วมมือในงานการเงินและบัญชี และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงาน ของหน่วยงาน


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านช่างไฟฟ้า ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านทารปฏิบู้ตการ
(๑) สำรวจ เขียนแบบ ประมาณการ ติดตั้ง ซ่อม ประดิษฐ์ ดัดแปลง ปรับปรุงควบคุมการใช้งาน ดูแลบำรุงรักษา และใช้งานเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบไฟฟ้า ระบบเครื่องปรับอากาศ ระบบไฟฟ้าสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบสารสนเทศ ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบคอมพิวเตอร์ รับส่งข้อมูลข่าวสาร ในภารกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพตอบสนองความต้องการของหน่วยงานภายในและภายนอก
(๒) จัดทำทะเบียน รวบรวม และเก็บข้อมูลทางสถิติของการใช้งาน เพื่อการวางแผนบำรุงรักษา
(๓) ปรับเทียบค่ามาตรฐานตามภารกิจที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้โนการออกใบรับรองตามที่หน่วยงาน หรือกฎหมายกำหนด
๒. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา แกไขปัญหา ให้แก่ผู้ใช้งานและผู้รับบริการทั้งภายในและ ภายนอกหน่วยงาน เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
(๒) ประสาน แลกเปลี่ยนความรู้ และข้อมูลต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อประกอบการปฏิบัติงานได้อย่างครอบคลุม และมีประสิทธิภาพ


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบ้ติงานด้านช่างโยธา ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ก่อสร้าง บำรุงรักษาโครงการก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อให้ตรง ตามหลักวิชาช่าง ความต้องการของหน่วยงาน และงบประมาณที่ได้รับ
(๒) ตรวจสอบ แก้ไข และกำหนดรายละเอียดของงานให้ตรงกับแบบรูปและรายการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
(๓) ถอดแบบ เพื่อสำรวจปริมาณวัสดุที่ใช้ตามหลักวิชาช่าง เพื่อประมาณราคาค่าก่อสร้าง
(๔) ควบคุมงานก่อสร้าง งานปรับปรุง และซ่อมแซม หรือตรวจการจ้างตามที่ได้รับมอบหมาย พร้อมรายงานความก้าวหน้าของงาน เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบที่กำหนด
(๕) รวบรวมและจัดเก็บข้อมูล เพื่อการศึกษา วิเคราะห์ วิจัยในงานด้านช่าง
๒. ด้านการบริกๆร
(๑) ให้คำแนะนำ ตอบปัญหา และผิกอบรมเกี่ยวกับงานโยธาที่ตนมีความรับผิดชอบ แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือเจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา หน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบข้อมูล ความรู้ต่าง ๆ และมีทักษะเหมาะสมแก่การปฏิบัติงาน
(๒) ประสานงานในระดับกลุ่มกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงานโยธา และแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อ การทำงานของหน่วยงานและปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวช้องดามที่ได้รับมอบหมาย

วิชาที่สอบ

นักสื่อสารมวลชนปฏิบัติการ (ด้านภาษาอังกฤษ)

(    ๑) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านสื่อสารมวลชน โดยมีประเด็นเนื้อหา ดังนื้ – มติ ครม. และนโยบายรัฐบาลทั้งด้านในประเทศและต่างประเทศที่สำคัญ – การจับประเด็นสำคัญจากข้อมูลที่ได้รับและนำมาออกแบบเป็นเนื้อหา เพื่อผลิตสื่อ เป็นภาษาอังกฤษได้ทันตามเวลาที่กำหนด
–    การเขียนสคริปต์ข่าวและรายการภาษาอังกฤษ
–    การรู้เท่าทันสื่อ
–    ความรู้เบื้องด้นเกี่ยวกับด้านสื่อสารมวลชน
(๒) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่บรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง โดยอาจพิจารณาจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็น สำหรับตำแหน่ง และวิธีสอบปฏิบัติโดยการจับประเด็น การเล่าเรื่องอธิบายความ เรียบเรียงลำดับเรื่อง


นักสื่อสารมวลชนปฏิบัติการ (ด้านทั่วไป)

(๑) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านสื่อสารมวลชน โดยมีประเด็นเนื้อหา ดังนี้
–    ความรู้เกี่ยวกับข่าวสารทั่วไป เหตุการณ์ปัจจุบัน ความรู้รอบตัว
–    ความหมายของการสื่อสาร และการประชาสัมพันธ์
–    ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการผลิตรายการวิทยุและโทรทัศน์
–    ความรู้เบื้องด้นเกี่ยวกับการเขียนข่าว และรายงานข่าว
–    ทักษะเบื้องด้นที่เกี่ยวกับการอ่าน เขียน และสรุปเนื้อหา
–    ความรู้และทักษะที่เกี่ยวกับสื่อดิจิทัล
–    ความรู้เกี่ยวกับการย่อความ การจับประเด็นใจความสำคัญ และการเล่าเรื่องที่ดี
–    ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
–    ความรู้เกี่ยวกับภารกิจองค์กร
–    ความรู้ด้านสังคม
(๒) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง และ วิธีสอบปฏิบัติโดยการจับประเด็น การเล่าเรื่องอธิบายความ เรียบเรียงลำดับเรื่อง


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ (ด้านภาษาอังกฤษ)

(    ๑) การสอบแข่งชันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านการประชาสัมพันธ์ โดยมีประเด็นเนื้อหา ดังนี้
–    หลักการประชาสัมพันธ์และกลยุทธ์การสื่อสารยุคดิจิทัล
–    การวิเคราะห์ประเด็นและเรียบเรียงข้อมูลเพื่อการประชาสัมพันธ์
–    ความรู้ทั่วไป และความรู้เกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันทั้งในและต่างประเทศ
–    ความรู้และทักษะด้านภาษาอังกฤษ
–    ความรูเกี่ยวกับหลักการรู้เท่าทันสื่อและการรับมือกับข่าวลวง
–    ความรู้ในเรื่องนโยบายรัฐบาล และความร่วมมือระหว่างประเทศ
–    ความรู้!ภี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์ และบทบาทด้านต่างประเทศของกรมประชาสัมพันธ์
(๒) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติการ (ด้านทั่วไป)

(๑) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านการประชาสัมพันธ์ โดยมีประเด็นเนื้อหา ดังนี้
–    การเชื่อมโยงแผนระดับประเทศสู่การปฏิบัติ
–    ภูมิทัศน์สื่อ
–    การวางแผนกลยุทธ์การสื่อสาร
–    การเขียนงานวิชาการ/ประชาสัมพันธ์
–    Social Media Trend & Social Listening
–    นโยบายการบริหารจัดการภาครัฐ
–    ปัญหา/ความต้องการของประชาชน
–    บทบาทของกรมประชาสัมพันธ์ต่อการสื่อสารภาครัฐ
–    การวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศ และประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
–    ความรู้ทั่วไป เหตุการณ์ปัจจุบัน ความรู้รอบตัว
(๒) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ

(๑) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านทรัพยากรบุคคล โดยมีประเด็นเนื้อหา ดังนี้
–    ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล
–    ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบ้ติราชการ
–    พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเดิม
–    ความรู้เกี่ยวกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้าง อำนาจหน้าที่ ภารกิจ นโยบาย และ ยุทธศาสตร์ของ กปส.
(๒) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

(๑) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์ โดยมีประเด็นเบื้อหา ดังนี้
–    ความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบความมั่นคง ปลอดภัยคอมพิวเตอร์ รวมไปถึงการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
–    ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลและการประมวลผลข้อมูล (Data Analytic) ครอบคลุมไปถึงการบริหารจัดการฐานข้อมูล การสำรวจ และจัดเตรียมสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล และการประมวลผลข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ ประโยชน์ของการวิเคราะห์ การหาความสัมพันธ์ การจัดกลุ่มการจำแนกประเภทข้อมูลแบบต่าง ๆการวิเคราะห์ข้อมูลรูปภาพ หลักการจัดเก็บข้อมูลลงฐานข้อมูล
–    ความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม การประยุกต์ใช้คำสั่งสำหรับวิเคราะห์ข้อมูล การใช้งานคำสั่งสำหรับการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
–    ความรู้เกี่ยวกับแผนภาพข้อมูล (Data Visualization) วัตถุประสงค์ความเหมาะสม ของแผนภาพที่ใช้กับข้อมูล เครื่องมือที่ใช้บริหารจัดการ
–    ความรู้เกี่ยวกับธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ (Data Governance) ครอบคลุม มาตรฐานข้อมูล ประเภทข้อมูล การบริหารจัดการข้อมูล วงจรชีวิตข้อมูล และเกณฑ์การประเมินข้อมูล
–    ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกและมัลติมีเดีย
–    พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดทางคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๐
–    พระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไชเบอร์ พ.ศ. ๒๕๖๒
–    พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒
–    พระราชบัญญัติการบริหารงานและการ่ให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒
–    นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
(๒) การสอบแช่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับดำแหน่ง


นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ

(๑) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านการเงินและบัญชี โดยมีประเด็นเนื้อหา ดังนื้
–    พระราชบัญญ้ติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
–    พระราชบัญญ้ติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
–    มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐
–    ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์โหม (New GFMIS Thai)
–    ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒
(๒) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

(๑) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านการจัดการงาน โดยมีประเด็นเนื้อหา ดังนี้
–    ระเบียบงานสารบรรณ/สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
–    ระเบียบพัสดุ ครุภัณฑ์
(๒) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


นักวิชาการโสตทัศนศึกษาปฏิบัติการ

(๑) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเซียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านโสตทัศนศึกษา โดยมีประเด็นเนื้อหา ดังนี้
–    หลักและทฤษฎีสีและองค์ประกอบศิลป็
–    ความรู้ความสามารถการใช้โปรแกรมต่าง ๆ ในงานออกแบบกราฟิก/และมัลติมีเดีย
–    แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับงานถ่ายภาพนึ่งและภาพเคลื่อนไหว
–    หลักและทฤษฎีการผลิตรูปแบบสื่อโสตทัศน์เพื่อการประชาสัมพันธ์
(๒) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

(๑) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านงานธุรการ โดยมีประเด็นเนื้อหา ดังนี้
–    ระเบียบงานสารบรรณ/สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
–    ระเบียบพัสดุ ครุภัณฑ์
(๒) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับคัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแช่งขัน เพื่อไหได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน

(๑) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะดำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านการเงินและบัญชี โดยมีประเด็นเนื้อหา ดังนี้
–    พระราชบัญญติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
–    พระราชบัญญ้ติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
–    มาตรฐานการบัญชีภาครัฐและนโยบายการบัญชีภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๕๔
–    ระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai)
–    ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒
(๒) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


นายช่างไฟฟ้าปฏิบัติงาน

(๑) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประซาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านไฟฟ้า โดยมีประเด็นเนื้อหา ดังนี้
–    ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
–    ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบเสียงและระบบภาพ
–    ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบวิทยุกระจายเสียง และระบบวิทยุโทรทัศน์
–    ระบบสายส่งกำลัง ระบบสายอากาศ และระบบเชื่อมโยงสัญญาณ
–    ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และระบบอินเทอร์เน็ต
–    การประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์ในงานวิทยุกระจายเสียงและงาใภิทยุโทรทัศน์
–    ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และมัลติมีเดีย
–    ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้ากำลัง ระบบแสงสว่าง และระบบเครื่องปรับอากาศ
(๒) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


นายช่างโยธาปฏิบัติงาน

–    มีความรู้ ความสามารถในการใช้กล้องสำรวจ และเครื่องมือสำรวจทุกชนิด
–    มีความรู้ ความสามารถใช้โปรแกรมเขียนแบบ Autocad และ SketchUp ได้
–    สามารถสำรวจออกแบบก่อสร้างอาคาร และสิ่งปลูกสร้าง พร้อมจัดทำผังบริเวณอาคาร และผังบริเวณสิ่งปลูกสร้างได้
–    สามารถคำนวณปริมาณวัสดุ และปริมาณราคาค่าก่อสร้างได้
–    สามารถจัดทำแผนการดำเนินงานก่อสร้างได้
–    สามารถตรวจสอบ และควบคุมการก่อสร้างตามหลักวิศวกรรมได้อย่างถูกต้อง
–    สามารถใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมพื้นฐาน Microsoft Excel/Microsoft Word/Microsoft Power Point หรืออื่น ๆ
–    มีความรู้ทางด้าน พระราชบัญญ้ติควบคุมอาคาร และกฎหมายก่อสร้าง
หลักสูตรและวิธีการสอบแข่งขัน
(๑) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๒00 คะแนน) ทดสอบความรู้ความสามารถโดยวิธีการสอบข้อเขียน
๑. ทดสอบวิชาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมประชาสัมพันธ์
๒. ทดสอบความรู้ความสามารถด้านโยธา โดยมีประเด็นเนื้อหาดังนี้
–    ความรู้ ความสามารถทั่วไปในงานก่อสร้าง และงานโยธารวมทั้งงานออกแบบ ทางด้านสถาปัตยกรรม
–    ความรู้ ความสามารถในข้อกำหนดระเบียบกฎหมายก่อสร้าง
–    ความรู้ ความสามารถในการประมาณราคา
–    ความรู้ ความสามารถในการควบคุมงานก่อสร้าง
–    ความรู้ ความสามารถในการเขียนแบบผังบริเวณ และเขียนแบบก่อสร้าง
–    ความรู้ ความสามารถในงานสำรวจก่อสร้าง
(๒) การสอบแข่งขันเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑00 คะแนน) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้งโดยวิธีการสัมภาษณ์ หรือวิธีอื่น เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่ง จากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้ได้บุคคลที่มี คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง


วิธีการสมัครงานข้าราชการ กรมประชาสัมพันธ์  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 20 ต.ค. – 14 พ.ย. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัครกรมประชาสัมพันธ์

ประกาศรับสมัคร file 1 | เว็บรับสมัคร

Facebook Comments