กรมประมง

ลิงค์: https://ehenx.com/13212/ หรือ
ตำแหน่ง: เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน,นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ,เจ้าพนักงานเดินเรือปฏิบัติงาน
ระดับการศึกษา: ปวส.,ปริญญาตรี
อัตราเงินเดือน: 10,840-19,830
อัตราว่าง: 49
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: 19 มี.ค. – 12 เม.ย. 2564
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมประมง เปิดรับสมัคร

ประกาศกรมประมง

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งเจ้าพนักงานประมงปฏิบ้ติงาน

ด้วยกรมประมงจะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ พลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๕/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๖๕๕๖ เรื่อง การสรรหา โดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคล เข้ารับราชการในตำแหน่งเจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน ด้งรายละเอียดต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน

ประเภท : ทั่วไป ระดับปฏิบัติงาน

อัตราว่าง : 42 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 10840 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


ประกาศกรมประมง

เรื่อง รับสมัครคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งนายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ และตำแหน่งเจ้าพนักงานเดินเรือปฏิบัติงาน

ด้วยกรมประมงจะดำเนินการคัดเลือกเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่ง นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ และตำแหน่งเจ้าพนักงานเดินเรือปฏิบัติงาน ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบกับหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔.๑/ว ๑๖ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ และที่ นร ๑๐๐ธyว ๑๗ ลงวันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๒ จึงประกาศรับสมัครคัดเลือก เพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการ โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ

ประเภท : 

อัตราว่าง : 4 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 10840 บาท

คุณวุฒิ : ปวส.


เจ้าพนักงานเดินเรือปฏิบัติงาน

ประเภท : 

อัตราว่าง :  อัตรา

อัตราเงินเดือน :  บาท

คุณวุฒิ : 

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน

  1. เป็นผู้ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า สาขาวิชาเทคโนโลยีประมง หรือสาขาวิชาประมง หรือวุฒิอนุปริญญาหลักสูตร ๒ ปี ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ หรือ
  2. เป็นผ้ได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพซ้นสูง ในสาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์นั้า สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวิชาแปรรูปสัตว์นํ้า สาชาวิชาการควบคุมเรือประมง หรือสาขาวิชาอุตสาหกรรม สัตว์นั้า หรือวุฒิอนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาชาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ และ
  3. ต้องเป็นผู้สอบผ่านการสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของสำนักงาน ก.พ. ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค (ปวท.) ระดับอนุปริญญา หรือ ประกาศนียบัตรวิชาชีพซ้นสูง (ปวส.) หรือคุณวุฒิอย่าอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน หรือสูงกว่า 

นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ

ได้รับวุฒิปริญญาตรี สาขาวิชาสัตวแพทยศาสตร์ และได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบ วิชาชีพการสัตวแพทย์ จากสัตวแพทยสภา 


เจ้าพนักงานเดินเรือปฏิบัติงาน

๔.๑ ผู้สมัครคัดเลือกต้องได้รับวุฒิประกาศนียบัตรวิชาขีพเทคนิค หรือวุฒิอนุปริญญา หลักสูตร ๒ ปี ทุกสาขาวิชา
๔.๒ ผู้สมัครคัดเลือกต้องได้รับวุฒิประกาศนืยบัตรวิชาชีพขั้นสูง หรือวุฒิอนุปริญญาหลักสูตร ๓ ปี ทุกสาขาวิชา
และได้รับประกาศนียบัตรอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
(๑) ได้รับประกาศนืยบัตรนายประจำเรือฝ่ายเดินเรือของเรือกลเดินทะเลใกล้ส่งขนาด ตํ่ากว่า ๕๐๐ คันกรอส จากกรมเจ้าท่า หรือที่กรมเจ้าท่าเทียบให้Iม่ตํ่ากว่านี้
(๒) ได้รับประกาศนียบัตรนายเรือของเรือกลเดินทะเลใกล้ส่ง ขนาดตํ่ากว่า ๕๐๐ คัน กรอส จากกรมเจ้าท่า หรือที่กรมเจ้าท่าเทียบให้ไม่ตํ่ากว่านี้
(๓)ได้รับประกาศนียบัตรนายประจำเรือฝ่ายเดินเรือของเรือกลเดินทะเลใกล้ส่งขนาด ๕๐๐ – ๓,๐๐๐ ตันกรอส จากกรมเจ้าท่า หรือที่กรมเจ้าท่าเทียบให้!ม่ตํ่ากว่านี้
ทั้งนี้ ผู้สมัครที่มีประกาศนียบัตรอย่างอื่นนอกเหนือจากประกาศนียบัตรนายประจำ เรือฝ่ายเดินเรือของเรือกลเดินทะเลใกล้ส่งขนาดตํ่ากว่า ๕๐๐ ตันกรอส ประกาศนียบัตรนายเรือของเรือกลเดิน ทะเลใกล้ส่ง ขนาดตํ่ากว่า ๕๐๐ ดันกรอส หรือประกาศนียบัตรนายประจำเรือฝ่ายเดินเรือของเรือกลเดินทะเลใกล้ ส่งขนาด ๕๐๐ – ๓,๐๐๐ ตันกรอส ให้ยื่นหนังสือรับรองการเทียบประกาศนืยบัตร ซึ่งกรมเจ้าท่าเทียบได้ ไม่ตํ่ากว่าประกาศนียบัตรดังกล่าว ประกอบการรับสมัคร หากไม่มีหนังสือรับรองการเทียบประกาศนืยบัตรจาก กรมเจ้าท่าไม่อนุญาตให้สมัคร และจะถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้ขาดคุณสมบัติในการสมัคร
 

หลักฐานที่ต้องยื่น/ใช้ในการสมัคร

  • รูปถ่ายหน้าตรง ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตาดำ ขนาด 1 โดยถ่ายครั้งเดียวกันไม่เกิน 1.5×2 นิ้ว ปี (นับถึงวันปิดรับสมัคร) จำนวน 3 รูป
  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน จำนวน 1 ฉบับ
  • สำเนาทะเบียนบ้าน จำนวน 1 ฉบับ
  • สำเนาหลักฐานอื่นๆ เช่น ใบสำคัญการสมรส ใบเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล (ในกรณีที่ชื่อ-สกุล ในหลักฐานการสมัครไม่ตรงกัน) อย่างละ 1 ฉบับ
  • สำเนาหลักฐานทางทหาร (สด.8 หรือ สด.43 หรือ สด.9 เฉพาะผู้สมัครเพศชาย) จำนวน 1 ฉบับ
  • สำเนาวุฒิการศึกษา (ปริญญาบัตร และ/หรือ ประกาศนียบัตร) ตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง ที่แสดงว่าเป็นผู้มีวุฒิการศึกษาตรงกับตำแหน่งที่สมัคร และสำเนาระเบียนแสดงผลการศึกษา (Transcript of Record) จำนวน1 ฉบับ
    ในกรณีที่ไม่สามารถนำหลักฐานการศึกษาดังกล่าวมายื่นพร้อมใบสมัครได้ให้นำหนังสือรับรองคุณวุฒิที่สถานศึกษาออกให้ โดยระบุสาขาวิชาที่สำเร็จการศึกษาและวันที่ที่ได้รับอนุมัติให้สำเร็จการศึกษา ซึ่งจะต้องอยู่ภายในกำหนดวันปิดรับสมัครมายื่นแทนก็ได้
    ทั้งนี้ ผู้ที่จะถือว่าเป็นผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของสถานศึกษาใดนั้น จะถือตามกฎหมาย กฎ หรือระเบียบเกี่ยวกับการสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรของสถานศึกษานั้นๆ เป็นเกณฑ์โดยจะต้องสำเร็จการศึกษาและได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจอนุมัติภายในวันปิดรับสมัครสอบ
  • ใบรับรองแพทย์ ซึ่งออกให้ไม่เกิน 1 เดือนและแสดงว่าไม่เป็นโรคที่ต้องห้ามตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยโรค พ.ศ.2553
  • ทั้งนี้ ในสำเนาหลักฐานทุกฉบับให้ผู้สมัครเขียนคำรับรองว่า สำเนาถูกต้อง และลงชื่อกำกับไว้ด้วยทุกแผ่น

    ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

    เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน

    ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านประมง ตามแนวทาง แบบอย่าง ชั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามทั้1ด้รับมอบหมาย ด้งนี้

    1. ด้านการปฏิบัติการ

    1. ช่วยงานศึกษาทดลอง วิเคราะห์ และวิจัยทางวิชาการประมง เพื่อพัฒนาองค์ความรู ที่เป็นประโยชน์
    2. ช่วยงานสำรวจ ศึกษาทดลองวิเคราะห์ และวิจัยทางวิชาการเกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์นํ้า และสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศทางทะเลและชายส่ง เพื่อส่งเสริมและพัฒนางานด้านระบบนิเวศทางทะเลและชายส่ง
    3. ดำเนินการตามแผนการอบุรักษ์และพื่นฟูทรัพยากรสัตว์นั้าและสิ่งแวดล้อมเพื่อการใช้ ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
    4. จัดทำทะเบียนจับสัตว์นั้า และทะเบียนอื่น ๆ เกี่ยวกับการประมง เพื่อควบคุมให้ การดำเนินการต่าง ๆ เป็นไปตามประกาศและกฎระเบียบของทางราชการ
    5. รวบรวมข้อมูลและจัดทำรายงานการดำเนินงานเกี่ยวกับการประกอบการประมง เพื่อประกอบการวางแผนงานและนโยบายของหน่วยงาน
    6. ดูแลการประกอบการประมงของผู้ประกอบอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์นั้าและชาวประมง เพื่อให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด ปลอดภัย เป็นไปตามมาตรฐานและไม่ทำลายสมคุลของสิ่งแวดล้อม

    2. ด้านการบริการ

    1. ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดความรู้แก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาในการ ปฏิบัติหน้าที่เพื่อช่วยให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
    2. ถ่ายทอดความรู้ทางต้านประมงแก่ผู้ประกอบอาชีพการเพาะเลี้ยงสัตว์นี้าและชาวประมง เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ
    3. ประสานงานกับหน่วยงานราชการ เอกชน หรึอประชาชนทั่วไป เพื่อสร้างความร่วมมือ ในงานด้านการประมง และแลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการทำงานชองหน่วยงาน 

    นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ

    ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู ความสามารถ ทางวิชาการใน การปฏิบัติงานเกี่ยวกับด้านวิชาการสัตวแพทย์ทางการควบคุมและตรวจสอบคุณภาพยาและเคมีภัณฑ์ในสัตว์ นํ้า เพื่อให้การผลิตสัตว์นํ้า ได้คุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนดและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค และการ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์และวิจัยทางด้านระบาดวิทยาของโรคสัตว์นํ้า การวิเคราะห์ความเสี่ยง หรือปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคระบาดในสัตว์นํ้า สถานการณ์โรคสัตว์นี้าทั้งภายในและต่างประเทศ การเฝ็า ระวังโรคสัตว์นํ้า รวมไปถึงการวิเคราะห์ข้อมูลการเฝืาระวังโรคระบาดสัตว์นี้า เพื่อการแจ้งเดือนภัยและแก้ไข ปัญหาด้านสุขภาพสัตว์นํ้าให้แก่เกษตรกรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้การปฏิบัติงาน ของกองวิจัยและพัฒนาสุขภาพสัตว์นํ้าบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

    ด้านการปฏิบัติการ

      Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

    ฝากประชาสัมพันธ์

    เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ

    (๑) ศึกษา คันคว้า วิจัยเกี่ยวกับยาและเคมีภัณฑ์ที่ใซ้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์นี้า และสูตรยาที่ ใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้าเพื่อป้องกันและรักษาโรคสัตว์นํ้าอย่างมีประสิทธิภาพ
    (๒) วิจัยด้านพิษวิทยาและผลกระทบของการใช้ยาและเคมีภัณฑ์ที่ใฃ้ในการรักษาโรคสัตว์ นํ้าต่อคุณภาพนํ้าและสิ่งแวดล้อม
    (๓) ศึกษา วิจัย และเฝืาระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพในสัตว์นํ้า และศึกษากลไกการดื้อยาของ เชื้อก่อโรค
    (๔) ควบคุม และตรวจสอบคุณภาพยาและเคมีภัณฑ์ที่ใช้’1นสัตว์นํ้าให้เป็นไปตามมาตรฐาน และปลอดภัยต่อผู้บริโภค
    (๕) เฝ็าระวังและกำกับดูแลการใช้ยาและเคมีภัณฑ์ รวมถึงวัคซีนในฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า ให้เป็นไปตามกฎหมาย
    (๖) ศึกษา คันคว้า และวิจัยด้านระบาดวิทยาของโรคสัตว์นํ้าทางสัตวแพทย์
    (๗) ศึกษา ด้นคว้า วิจัย วิเคราะห์ความเสี่ยงหรือปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคระบาดในสัตว์นํ้า เพื่อให้ได้แนวทางในการพัฒนาระบบการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ
    ๘) พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านการเฝ็าระวังโรค และภาวะที่เป็นภัยคุกคาม สุขภาพสัตว์นํ้า
    (๙) กำกับการใช้สัตว์นํ้าเพื่อการทดลองทางวิทยาศาสตร์ให้เป็นไปตามพระราชบัญญติสัตว์ เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘ และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ
    (๑๐) ลงนามในหนังสือรับรองสุขภาพสัตว์นํ้าเพื่อการล่งออก และหนังสือรับรองอื่น ๆ ด้านสุขภาพสัตว์นํ้า
    (๑๑) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ ได้รับมอบหมาย

    ด้านการวางแผน

    วางแผนงานที่รับผิดชอบ และดำเนินการวางแผนงาน โครงการที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา และเคมีภัณฑ์ในสัตว์นํ้า การเฝัาระวังโรคในสัตว์นํ้าและโรคติดต่ออุบัติใหม่ในสัตว์นํ้า และงานอื่นๆที่ได้รับ มอบหมาย เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทชื้ที่กำหนด

    ด้านการประสานงาน

    (๑) ประสานงานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือ และผลสัมฤทธิ้ตามที่กำหนด
    (๒)ให้ข้อมูลเบื้องต้นแก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความร่วมมือในการ ดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย

    ด้านการบริการ

    (๑)ให้คำแนะนำ จัดทำสื่อสารสนเทศ เผยแพร่และถ่ายทอดเทคโนโลยี ข้อมูลและความรู้ ทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาและเคมีภัณฑ์ในสัตว์นํ้า ระบาดวิทยาและสุขภาพสัตว์นี้าให้กับเกษตรกรผู้ เพาะเลี้ยงสัตว์นํ้า เจ้าหนัาที่กรมประมง หน่วยงานภาครัฐและเอกชน นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไป เพื่อให้มี ความรู้ ความเข้าใจและนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
    (๒)ให้บริการในหนัาที่ที่รับผิดชอบอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ 


    เจ้าพนักงานเดินเรือปฏิบัติงาน

    หนัาที่ความรับผิดชอบหลัก
    ผู้ได้รับการบรรจุต้องสามารถปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับด้นซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาปฏิบัติงานเดินเรือตามแนวทางแบบอย่างชั้นตอนและวิธีการที่ชัดเจนภายใต้การ กำกับแนะนำตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายโดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้

    ต้านการปฏิบัติการ

    (๑) ปฏิบัติงานในด้านอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์นํ้าเพื่อรักษาสมดลของระบบนิเวศทางทะเล
    (๒)รวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานจัดทำรายงานและนำเสนอผู้บังคับบัญชาในหน่วยงาน
    (๓) ควบคุมทิศทางเรือให้เดินอยู่ในเส้นทางที่ได้รับมอบหมายและหลบหลีกสิ่งกีดขวางต่าง ๆ เพื่อให้เรือสามารถเดินทางไปถึงจุดหมายด้วยความปลอดภัยไม่เกิดอุบัติเหตุ
    (๔) ดูแลและบำรุงรักษาเรือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเดินเรือเพื่อให้มีความ พร้อมที่จะออกปฏิบัติงานอยู่ตลอดเวลา
    (๕)จัดเตรียมแผนงานการช่อมประจำปีของอุปกรณ์เช่นตัวเรือเครื่องยนต์และเครื่องจักรเพื่อ รายงานต่อผู้บังคับบัญชาให้ทำการพิจารณาอนุมัติแผนงานดังกล่าวต่อไป
    (๖) ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรเพื่อเป็นการสนับสนุน ให้การปฏิบัติงานมีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากยิ่งชั้น

    ต้านการบริการ

    (๑)ให้คำแนะนำเกี่ยวกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติงานที่อยู่ในความรับผิดชอบแก่ผู้ร่วมงาน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อความเข้าใจอันดีในการปฏิบัติงานและให้การดำเนินงานสำเร็จลุล่วง
    (๒) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันต่างหน่วยงานหรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้บริการหรือขอความช่วยเหลือในด้านที่ตนรับผิดชอบ
    (๓) จัดขิกอบรมเกี่ยวกับมาตรการอนุรักษ์ทางทะเลและชายผิงหรือเรื่องอื่น ๆที่เกี่ยวข้อง ให้กับกลุ่มชาวประมงและประชาชนทั่วไปเพื่อให้ประชาชนมีความร้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง
    (๔) แนะนำการใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ของเรือและวิธืการเดินเรือเพื่อช่วยให้ผู้ทำการเดินเรือสามารถ ใช้อุปกรณ์ต่าง ๆได้อย่างลูกต้องและเกิดความปลอดภัยในการเดินเรือ

     

    วิชาที่สอบ

    เจ้าพนักงานประมงปฏิบัติงาน

    1. การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน

    1. ความรู้เนี้องต้นเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์นั้า
    2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรประมง
    3. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง
    4. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ และที่แกัไชเพิ่มเดิม

    2. การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับดำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
    การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่งที่จะบรรจุและแต่งตั้ง โดยวิธีการ สัมภาษณ์เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัดิส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้1ด้บุคคลที่มีคุณธรรมจริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง

    ทั้งนี้ จะทดสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่งก่อน และเมื่อสอบ ผ่านการวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งแล้ว และเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติตรงดามประกาศรับสมัครสอบฯ จึงจะมีสิทธิเช้าสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง 

    นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ

    (๑) การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่ง (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน)

    (๑.๑) ด้านวิชาการสัตวแพทย์
    –    ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพสัตว์นี้า
    –    ความรู้เกี่ยวกับโรคสัตว์นํ้าและโรคอุบัติใหม่
    –    ความรู้เกี่ยวกับการสอบสวนโรคและการชันสูตรโรคสัตว์นํ้า
    –    ความรู้เกี่ยวกับระบาดวิทยาและการควบคุมโรคสัตว์นี้า
    –    ความรู้เกยวกับการใช้ยา เคมีภัณฑ์และวัคซีนในการป้องกันและรักษาโรคสัตว์นํ้า
    –    ความรู้เกี่ยวกับกลไกการดื้อยาและเชื้อดื้อยาด้านจุลชีพ
    –    ความรูเกี่ยวกับการมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์นี้าและโรงงานแปรรูป
    –    ความรู้เกี่ยวกับการชีววิทยาของสัตว์นี้า

    (๑.๒) ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
    -พระราชบัญญ้ติยา พ.ศ. ๒๕๑๐
    –    พระราชบัญญ้ติอาหาร พ.ศ. ๒๕๒๒
    –    พระราชบัญญ้ติวัตสุอันตราย พ.ศ. ๒๕๓๕
    –    พระราชบัญญ้ติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘
    –    พระราชบัญญ้ติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘
    –    พระราชบัญญ้ติสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘
    –    พระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ และที่แกไขเพิ่มเดิม

    (๒) การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน
    เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษา ประวัติ การทำงาน ประสบการณ์ ห่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤดิกรรมของผู้คัดเลือก เพื่อให้ได้บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
    ทั้งนี้ จะทดสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่งก่อน และเมื่อสอบ ผ่านการวัดความรู้ความสามารถที่ใซ้เฉพาะตำแหน่งแล้ว เฉพาะผู้ที่มีคุณสมบัติตรงตามประกาศรับสมัครสอบ จึงจะมีสิทธิเข้าสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง

    เจ้าพนักงานเดินเรือปฏิบัติงาน

    ดำเนินการสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน และการสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ดังนี้

    ๕.๑ การสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน) โดยวัดความรู้ ดังนี้

    (๑) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเดินเรือ
    (๒) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรด้านการประมง
    (๓) ความรู้เกี่ยวกับ กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องดังนี้

    –    พระราชบัญเนัดิการเดินเรึอ่ในน่านนํ้าไทยพระพุทธคักราช ๒๔๕๖ และที่แกไขเพิ่มเติม
    –    พระราชบัญญัติว่าด้วยสิทธิการประมงในเขตการประมงไทย พ.ศ. ๒๔๘๒
    –    พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๓๕
    –    •พระราชกำหนดการประมง พ.ศ. ๒๕๕๘ และที่แก!ขเพิ่มเดิม

    สอบปฏิบัติ (คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน) โดยวัดความรู้ ดังนี้

    ทดสอบการควบคุมเรือ และการเดินเรือ

    การสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง

    สอบสัมภาษณ์ เพื่อประเมินความเหมาะสมกับตำแหน่งจากประวัติส่วนตัว ประวัติ การศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ท่วงทีวาจา อุปนิสัย อารมณ์ ทัศนคติ การปรับตัวเข้ากับผู้ร่วมงาน สังคม และสิ่งแวดล้อม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปฏิภาณไหวพริบ บุคลิกภาพและพฤติกรรมของผู้สอบแข่งขัน เพื่อให้!ด้บุคคลที่มีคุณธรรมจริยธรรม ความรู้ความสามารถ ทักษะ สมรรถนะ และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง

    ทั้งนี้ จะทดสอบเพื่อวัดความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งก่อน และเมื่อสอบผ่านการวัด ความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่งแล้ว เฉพาะผู้ที่มีคุณสมบัติตรงตามประกาศรับสมัครคัดเลือก จึงจะมีสิทธิ เข้าสอบเพื่อวัดความเหมาะสมกับตำแหน่ง

     

    วิธีการสมัครงานข้าราชการ กรมประมง :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

    ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ 19 มี.ค. – 12 เม.ย. 2564 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

    ดาวน์โหลดไฟล์ “กรมประมง

    แผนที่ ประกาศ 1 | 2 | เว็บรับสมัคร |

    Facebook Comments