กรมวิทยาศาสตร์บริการ

ลิงค์: https://ehenx.com/17281/ หรือ
ตำแหน่ง: นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ(ด้านเคมี),นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ(ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม),นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ(ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร),นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ(ด้านวัสดุศาสตร์),นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ(ด้านสอบเทียบเครื่องมือวัด),นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ(ด้านจุลชีววิทยา),นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ(ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร),นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ(ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม),นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ(ด้านเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์)
ระดับการศึกษา: ปริญญาตรี,ปริญญาโท
อัตราเงินเดือน: 15,000-19,250
อัตราว่าง: 16
ปฏิบัติงานที่: กรุงเทพมหานคร
เปิดรับสมัครตั้งแต่: บัดนี้ – 9 ส.ค. 2565
**เฉพาะผู้สอบผ่านภาค ก. ก.พ.**



กรมวิทยาศาสตร์บริการ เปิดรับสมัคร

ประกาศกรมวิทยาศาสตร์บริการ

เรื่อง รับสมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการในตำแหน่งต่าง ๆ

ด้วยกรมวิทยาศาสตร์บริการ จะดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ ในตำแหน่งต่าง ๆ ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕๓ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๔/ว ๑๗ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๖ เรื่อง การสรรหา โดยการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ จึงประกาศรับสมัครสอบแข่งขัน ฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ชื่อตำแหน่ง กลุ่มงาน และรายละเอียดการจ้างงาน

นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านเคมี)

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร)

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวัสดุศาสตร์)

อัตราว่าง : 2 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านสอบเทียบเครื่องมือวัด)

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านจุลชีววิทยา)

อัตราว่าง : 3 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 15000-16500 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาตรี


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร)

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 17500-19250 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาโท


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 17500-19250 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาโท


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์)

อัตราว่าง : 1 อัตรา

อัตราเงินเดือน : 17500-19250 บาท

คุณวุฒิ : ปริญญาโท

คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง

นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านเคมี)

(๑) ผู้สมัครสอบจะต้องเป็นผู้ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางเคมี และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของ สำนักงาน ก.พ. ในระดับปริญญาตรี หรือระดับที่สูงกว่า


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

(๑) ผู้สมัครสอบจะต้องเป็นผู้ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกันใน สาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ หรีอ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางสิ่งแวดล้อม ทางเคมีสิ่งแวดล้อม หรือสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ ทางสิ่งแวดล้อม ทางอนามัยสิ่งแวดล้อม ทางวิทยาศาตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม หรือสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางสิ่งแวดล้อม ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของ สำนักงาน ก.พ. ในระดับปริญญาตรี หรีอระดับที่สูงกว่า


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร)

(๑) ผู้สมัครสอบจะต้องเป็นผู้ได้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ทางการอาหาร ทางวิทยาศาสตร์การอาหาร ทางเทคโนโลยีอาหาร ทางเทคโนโลยีการอาหาร ทางเทคโนโลยีทางอาหาร ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ทางวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ ทางอุตสาหกรรมเกษตร ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร หรือ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ ทางเทคโนโลยีชีวภาพ ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร ทางเทคโนโลยีชีวภาพทางการอาหาร ทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร และ
(๑) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของ สำนักงาน ก.พ. ในระดับระดับปริญญาตรี หรือระดับที่สูงกว่า


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวัสดุศาสตร์)

(๑) ผู้สมัครสอบจะต้องเป็นผู้!ด้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ทางเทคโนโลยีเยื่อและกระดาษ หรือสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางเทคโนโลยีวัสดุ ทางวัสดุศาสตร์ ทางเทคโนโลยีวัสดุภัณฑ์ ทางเทคโนโลยีเยื่อและกระดาษ ทางเทคโนโลยีวัสดุและบรรจุภัณฑ์ และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของ สำนักงาน ก.พ. ในระดับปริญญาตรี หรือระดับที่สูงกว่า


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านสอบเทียบเครื่องมือวัด)

(๑) ผู้สมัครสอบจะต้องเป็นผู้!ด้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน สาขาวิชาใดวิชาหนึ่งทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ทางเทคโนโลยีไฟฟ้า หรือทางเทคโนโลยีเครื่องกล หรือสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ หรือสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ หรือสาขาวิชาคณิตศาสตร์และสถิติ และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของ สำนักงาน ก.พ. ในระดับปริญญาตรี หรือระดับที่สูงกว่า


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านจุลชีววิทยา)

(๑)ผู้สมัครสอบจะต้องเป็นผู้โด้รับปริญญาตรี หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ทางจุลชีววิทยา ทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพ และ
(๒)เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของ สำนักงาน ก.พ. ในระดับปริญญาตรี หรือระดับที่สูงกว่า


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร)

(๑) ผู้สมัครสอบจะต้องเป็นผู้!ด้รับปริญญาโท หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ ทางการอาหาร ทางวิทยาศาสตร์การอาหาร ทางเทคโนโลยีอาหาร ทางเทคโนโลยี การอาหาร ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ทางวิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของ สำนักงาน ก.พ. ในระดับระดับปริญญาโท


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

(๑) ผู้สมัครสอบจะต้องเป็นผู้ได้รับปริญญาโท หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบไต้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิทยาการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ หรือสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางสิ่งแวดล้อม ทางเคมีสิ่งแวดล้อม หรือสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ ทางสิ่งแวดล้อม ทางอนามัยสิ่งแวดล้อม ทางวิทยาศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อม หรือสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ ทางสิ่งแวดล้อม ทางวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของ สำนักงาน ก.พ. ในระดับปริญญาโท


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์)

(๑) ผู้สมัครสอบจะต้องเป็นผู้ได้รับปริญญาโท หรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ ทางวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ ทางเทคโนโลยีพอลิเมอร์ ทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีพอลิเมอร์ ทางเทคโนโลยียาง ทางเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ และ
(๒) เป็นผู้สอบผ่านการวัดความรู้ความสามารถทั่วไปของ สำนักงาน ก.พ. ในระดับปริญญาโท

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ

นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านเคมี)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ด้านการทดสอบ เช่น สารตกตะกอนนี้า กรด ด่าง เกลือ เหล็ก อะลูมิเนียม ทองแดง สังกะสี เครื่องประดับ นํ้าอุปโภค นํ้าดื่ม เพื่อหาองค์ประกอบหลักและสารปนเปีอนโดยวิธีมาตรฐาน ดูแลเครื่องมือและสารเคมี ในห้องปฏิบัติการให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ดูแลเอกสารและดำเนินงานเกี่ยวกับระบบคุณภาพ และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ รวมถึงปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้
(๒) วิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุ ตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๓) ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญจัดทำ ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
(๔) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรผิกอบรมและถ่ายทอดความรู้และร่วมดำเนินการ จัดผิกอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าของวิทยาการด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี
(๕) ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๖) ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายโนและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทซ็ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามทีได้รับมอบหมาย
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาแนะนำเบื้องต้นทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแกผู้ประกอบการส่วน ราชการ และประชาชนผู้สนใจทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูล ความรู้ต่างๆ และนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด
(๒) เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แกผู้เกี่ยวข้อง


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อมในการทำงานด้านการวิจัยการพัฒนานวัตกรรม ต้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม การให้คำแนะนำ และส่งเสริมคุณภาพทางด้านสิ่งแวดล้อม ให้แก่ผู้ประกอบการตามหลักวิชาการ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้
(๒) วิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจลัย ทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุ ตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๓) ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญ จัดทำฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาห้องปฏิบัติการ เพี่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
(๔) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรผิกอบรมและถ่ายทอดความรู้และร่วมดำเนินการ จัดผิกอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าของวิทยาการ ต้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี
(๕) ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๖) ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธิ้ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
(๒) เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านทดสอบทางประสาทสัมผัสในอาหาร วิจัยพัฒนาด้านอาหาร การใช้เครื่องมือวิเคราะห์ที่มีความ ละเอียดสูงด้านอาหาร การใช้เครื่องมือแปรรูปในอุตสาหกรรมอาหาร และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษาด้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้
(๒) วิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุ ตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๓) ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญจัดทำ ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
(๔) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรผักอบรมและถ่ายทอดความรู้และร่วมดำเนินการ จัดผักอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าของวิทยาการด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี
(๕) ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๖) ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือและผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แกบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
(๒) เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวัสดุศาสตร์)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ด้านวัสดุศาสตร์ เข่น การวิเคราะห์ทดสอบเยื่อและกระดาษ หรือวัสดุอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องการสอบเทียบ เครื่องทดสอบทางวัสดุศาสตร์ การดูแลเอกสารและดำเนินงานเกี่ยวกับระบบคุณภาพ การวิจัยพัฒนาและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเยื่อและกระดาษ เทคโนโลยีวัสดุและบรรจุภัณฑ์ และปฏิบัติงาน ให้บริการลีบค้นข้อมูลสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโลยีที่เกี่ยวข้อง ภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบและ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้
(๒) วิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุ ตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๓) ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญจัดทำ ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
(๔) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรขิกอบรมและถ่ายทอดความรู้และร่วม ดำเนินการจัดขิกอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าของวิทยาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(๕) ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๖) ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ้ที่กำหนด
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาแนะนำเบื้องต้นทางด้านเทคโนโลยีเยื่อและกระดาษแก่ผู้ประกอบการ ส่วน ราชการ และประชาชนผู้สนใจทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบข้อมูล ความรู้ต่างๆ และนํไไปใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด
(๒) เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ด้านเทคโนโลยีเยื่อและกระดาษ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

  Youtube: iqepin LINE it! เพิ่มเพื่อน

ฝากประชาสัมพันธ์

เพื่อประโยชน์ของท่านโปรดดาวน์โหลดประกาศรับสมัครสอบอย่างเป็นทางการจากหน่วยงานที่รับสมัครสอบ ที่ลิงค์ด้านล่างเพื่อตรวจสอบข้อมูลการรับสมัครสอบ


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านสอบเทียบเครื่องมือวัด)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านสอบเทียบเครื่องมือวัด ภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับ มอบหมาย
โดยมีลักษณะงานทีปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้
(๒) วิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุ ตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๓) ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญจัดทำ ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
(๔) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรฟิกอบรมและถ่ายทอดความรู้และร่วม ดำเนินการจัดฟิกอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความด้าวหน้าของวิทยาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(๕) ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๖) ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทัดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธึ๋ที่กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิด ความร่วมมือและผลสัมฤทธิ้ตามทีกำหนด
(๒) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความเข้าใจหรือความร่วมมือในการดำเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย
(๒) เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านจุลชีววิทยา)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงาน ดูแลจัดการการฟิกอบรมทางจุลชีววิทยาทั้งในรูปแบบระบบห้องเรียน และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ดูแลจัดการการรับรองความสามารถบุคลากรให้กับผู้ที่ปฏิบัติงานด้านจุลชีววิทยาตามมาตรฐานสากล ปฏิบัติงานด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านคุณภาพประเทศ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษาด้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้
(๒) วิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุ ตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวช้อง
(๓) ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญ จัดทำฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ทางการค้า
(๔) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรฟิกอบรมและถ่ายทอดความรู้และร่วม ดำเนินการจัดฟิกอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าของวิทยาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(๕) ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๖) ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงาน หรือโครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธึ๋ที่กำหนด
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาแนะนำเบื้องต้นทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบการส่วน ราชการ และประชาชนผู้สนใจทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูล ความรู้ต่างๆ และนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด
(๒) เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยการศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารและ เครื่องดื่ม การวิเคราะห์ทดสอบวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปเครื่องดื่ม การส่งเสริมและดำเนินการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีและบูรณาการเชื่อมโยงกับเครือข่ายหน่วยงานต่างๆ เพื่อพัฒนากระบวนการผลิต คุณภาพ ผลิตภัณฑ์และรักษามาตรฐานผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปและเครื่องดื่มของประเทศ การพัฒนามาตรฐาน ข้อกำหนดเกณฑ์จำเพาะสำหรับวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปและเครื่องดื่มของประเทศ และการพัฒนา ระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปและเครื่องดื่มของประเทศ ภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้
(๒) วิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุ ตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๓) ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญจัดทำ ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ ล่งเสริมพัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
(๔) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรผีเกอบรมและถ่ายทอดความรู้และร่วมดำเนินการ จัดผีเกอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าของวิทยาการด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี
(๕) ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๖) ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี๋ที่กำหนด
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาแนะนำเบื้องต้นทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แก่ผู้ประกอบการ ส่วนราชการ และประชาชนผู้สนใจทั่วไบ เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูล ความรู้ต่างๆ และนำไปใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด
(๒) เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการด้านวิศวกรรม สิ่งแวดล้อมในการวางแผนออกแบบทางด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมระบบบำบัดนํ้าเลีย ระบบบำบัดอากาศเลีย สำหรับโครงการวิจัย การให้คำแนะนำ และส่งเสริมคุณภาพทางด้านสิ่งแวดล้อมให้แก่ผู้ประกอบการตามหลัก วิชาการ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้
(๒) วิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุ ตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๓) ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญ
จัดทำฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันทางการค้า
(๔) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรฟิกอบรมและถ่ายทอดความรู้และ ร่วมดำเนินการจัดฟิกอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าของวิทยาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(๕) ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๖) ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของหน่วยงานหรือ โครงการ เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธี้ที่กำหนด
๔. ด้านการบริการ
(๑)ให้คำปรึกษาแนะนำเบื้องต้นทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแก่ผู้ประกอบการส่วน ราชการ และประชาชนผู้สนใจทั่วโบ เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูล ความรู้ต่างๆ และนำไปใซ้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุด
(๒) เผยแพร่ ก่ายทอดความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้แก่ผู้เกี่ยวข้อง


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์)

ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ ความสามารถทางวิชาการในการทำงาน ปฏิบัติงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านวิเคราะห์ทดสอบวิจัยยางและผลิตภัณฑ์ยาง ภายใต้การกำกับ แนะนำตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้
๑. ด้านการปฏิบัติการ
(๑) ศึกษาค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล และร่วมดำเนินการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้
(๒) วิเคราะห์ทดสอบ ตรวจสอบ ตรวจวัด ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ทางวิทยาศาสตร์ ของวัตถุ ตัวอย่าง สอบเทียบเครื่องมือ อุปกรณ์วัด เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๓) ร่วมปฏิบัติงานด้านการรับรองระบบงาน การบริหารจัดการทดสอบความชำนาญจัดทำ ฐานข้อมูลห้องปฏิบัติการ ส่งเสริมพัฒนาห้องปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า
(๔) ร่วมศึกษาวิเคราะห์ วิจัย พัฒนาหลักสูตรผิกอบรมและถ่ายทอดความรู้และร่วม ดำเนินการจัดผิกอบรม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการและทันต่อความก้าวหน้าของวิทยาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(๕) ศึกษา ค้นคว้า ติดตามความรู้ และพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๖) ร่วมดำเนินงานระบบประกันคุณภาพ เพื่อให้ผลการทดสอบเป็นที่น่าเชื่อถือ
๒. ด้านการวางแผน
วางแผนการทำงานในส่วนที่รับผิดชอบ ร่วมดำเนินการวางแผนการทำงานของกลุ่มยางและ ผลิตภัณฑ์ยาง และแก้[ขปัญหาในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมถุทธที่ กำหนด
๓. ด้านการประสานงาน
(๑) ประสานการทำงานร่วมกัน โดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคำแนะนำเบื้องต้น แก่ผู้ปฏิบัติงานในกลุ่มยางและผลิตภัณฑ์ยาง หรือหน่วยงานอื่น เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธี้ตามที่กำหนด
๔. ด้านการบริการ
(๑) ให้คำปรึกษาแนะนำทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านยางและผลิตภัณฑ์ยาง ที่ค่อนข้างยาก แกผู้ประกอบการ และประชาชน ผู้สนใจทั่วไป เพื่อให้ได้ทราบข้อมูลความรู้ต่าง ๆ และนำไปใช้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(๒) เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านยางและผลิตภัณฑ์ยาง เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

วิชาที่สอบ

นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านเคมี)

ทดสอบความรู้ความสามารถความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย
๑. ความรู้ด้านเคมี
๒. ความรู้ด้านระบบคุณภาพ IS0/IEC 17025
๓. ความรู้เรื่องความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการเคมี


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

ทดสอบความรู้ความสามารถความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย
ต. ความรู้ด้านการเก็บตัวอย่างและการทดสอบสารมลพิษทางนํ้าเลีย/นํ้าทิ้ง/นํ้าใต้ดิน อากาศ แสง เลียง ความร้อน ความสั่นสะเทือนและการอุตสาหกรรม
๒. ความรู้ด้านเครื่องมีอที่ใช้ในการทดสอบทางสิ่งแวดล้อม
๓. ความรู้ทั่วไปด้านมลพิษสิ่งแวดล้อม และสารมลพิษอุบัติใหม่รวมถึงสถานการณ์ ด้านมลพิษในปัจจุบัน
๔. ความรู้ด้านกฎหมาย
–    พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาขีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๔๔
–    พระราชบัญญัติล่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๔๓๔
–    พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๔๓๔


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร)

ทดสอบความรู้ความสามารถความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย
๑. ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร
๒. ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือในกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
๓. ความรู้ด้านการทดสอบประสาทสัมผัสด้านอาหารและการประเมินผล


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวัสดุศาสตร์)

ทดสอบความรู้ความสามารถความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย
๑. ความรู้ด้านวัสดุศาสตร์
๒. ความรู้ด้านเทคโนโลยีเยื่อและกระดาษ เทคโนโลยีวัสดุและบรรจุภัณฑ์ และความรู้ทั่วไป การทดสอบ การสอบเทียบ การลืบค้นข้อมูล
๓. ความรู้เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ด้านสถิติเพื่อการวิเคราะห์ทดสอบและสอบเทียบ
๔. ความรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการค้นคว้าในการทำการวิจัยเบื้องต้น
๕. ความรู้เกี่ยวกับระบบคุณภาพตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 : 2017


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านสอบเทียบเครื่องมือวัด)

ทดสอบความรู้ความสามารถความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย
๑. ความรู้ด้านมาตรวิทยา
๒. ความรู้เกี่ยวกับฟิสิกส์พื้นฐาน ทางกลศาสตร์ เทอรโมไดนามิกส์ และไฟฟ้า
๓. ความรู้เกี่ยวกับสถิติพื้นฐาน
๔. ความรู้เกี่ยวกับระบบคุณภาพตามมาตรฐานสากล ISO/IEC 17025 และ ISO/IEC 17043


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านจุลชีววิทยา)

ทดสอบความรู้ความสามารถความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย
๑. ความรู้ด้านการทดสอบทางจุลชีววิทยา
๒. ความรู้ทั่วไปทางวิทยาศาสตร์
๓. ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานระบบคุณภาพ IS0/IEC 17025 1 ISO 9001 , ISO/IEC 17024
๔. ความรู้เกี่ยวกับการเขียนโครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมายและผลส้มฤทธึ๋ที่สำคัญ (Objective Key Results) วิธีการดำเนินงาน และการบริหารงบประมาณ


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร)

ทดสอบความรู้ความสามารถความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย
๑. ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อาหาร และกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์
(Food Science and Food Processing)
๒. ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการแปรรูปอาหารในระดับอุตสาหกรรม และการควบคุมคุณภาพ (Industrial food processing and quality control)
๓. ความรู้เกียวกับเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ (Food Packaging Technology)
๔. ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์คุณภาพอาหาร (Foods analysis)
๕. ความรู้เกี่ยวกับจุตินทรีย์ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพ และอายุการเก็บของอาหาร (Microbial organism related to food quality and shelf life)


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)

ทดสอบความรู้ความสามารถความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย
๑. ความรู้ด้านการทดสอบสารมลพิษทางนํ้าเลีย/นํ้าทิ้ง/นํ้าใต้ดิน อากาศ แสง เลียง ความร้อน ความสั่นสะเทือน และกากอุตสาหกรรม และเครื่องมีอที่ใช้ในการทดสอบทางสิ่งแวดล้อม
๒. ความรู้ด้านการออกแบบระบบกำจัดมลพิษทางอากาศ ระบบบำบัดนํ้าเลีย และความรู้ด้าน การควบคุมระบบบำบัดมลพิษทางอากาศ ระบบบำบัดนํ้าเลีย
๓. ความรู้ด้านการจัดการสารมลพิษจากอุตสาหกรรม
๔. ความรู้ด้านการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อทำนายการเปลี่ยนแปลงและการ เคลื่อนที่ของมลพิษสิ่งแวดล้อม
๕. ความรู้ด้านกฎหมาย
–    พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาขีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ – พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕
–    ความรู้ด้านกฎหมายพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕


นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ (ด้านเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์)

ทดสอบความรู้ความสามารถความเข้าใจเกี่ยวกับงานในตำแหน่ง โดยวิธีการสอบข้อเขียน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) ประกอบด้วย
๑. ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์
๒. ความรู้เกี่ยวกับเคมีวิเคราะห์
๓. ความรู้เกี่ยวกับฟิสิกส์
๔. ความรู้ทางสถิติเกี่ยวกับการวิจัย

วิธีการสมัครงานข้าราชการ กรมวิทยาศาสตร์บริการ  :สมัครทางอินเทอร์เน็ต  

ผู้ประสงค์จะสมัครสอบ สมัครได้ทางอินเทอร์เน็ตเท่านั้น ตั้งแต่วันที่ บัดนี้ – 9 ส.ค. 2565 ตลอด 24 ชั่วโมง ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ดาวน์โหลดประกาศ/ใบสมัคร”กรมวิทยาศาสตร์บริการ

แผนที่ file 1 | เว็บรับสมัคร

Facebook Comments